Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8583
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิระสุข สุขสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพจน์ อารีย์สวัสดิ์, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T03:34:59Z-
dc.date.available2023-08-08T03:34:59Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8583en_US
dc.description.abstractการวิจัยแบบผสมผสานวิธีประเภทอธิบายเป็นลำดับในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษาระดับการควบคุมตนของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางบางขวาง และ (2) ศึกษาประสบการณ์ การควบคุมตนของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางบางขวาง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ คือ ผู้ต้องขังเรือนจำกลางบางขวาง จำนวน 360 คน ได้มาโดยวิธีการลุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพใช้วิธีการคัดเลือกแบบ เจาะจง โดยมีเกณฑ์การคัดเข้า คือ มีคะแนนจากแบบวัดความสามารถในการควบคุมตนอยู่ในระดับดีขึ้นไป ไม่เคยกระทำผิดวินัยของเรือนจำตลอดระยะเวลา 10 ปีขึ้นไป สามารถสื่อสารได้ดี และยินดี เข้าร่วมการวิจัย จำนวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดความสามารถในการควบคุมตน มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .87 และแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และแบบบันทึกภาคสนาม สถิติที่ใฃ้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือการวิเคราะห์เนื้อหาและสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผู้ต้องขังส่วนใหญ่มีความสามารถในการควบคุมตนอยู่ในระดับ ดีมาก และ (2) ประสบการณ์การควบคุมตนของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางบางขวางพบประเด็นหลัก 3 ประเด็น ได้แก่ (ก) วิถีชีวิตในสังคมใหม่ ประกอบด้วยประเด็นรอง 2 ประเด็น คือ การเผชิญความยากลำบาก และแสงสว่างในความยากลำบาก (ข) กุญแจสำคัญในการควบคุมตน ประกอบด้วย ประเด็นรอง 2 ประเด็น คือ ปัจจัยภายนอก และปัจจัยภายใน และ (ค) จุดมุ่งหมายในชีวิต ประกอบด้วยประเด็นรอง 2 ประเด็น คือ การประกอบอาชีพอย่างสุจริตและพอเพียง และการทำหน้าที่เสาหลักดูแลครอบครัวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณี.th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการควบคุมตนเองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.subjectนักโทษth_TH
dc.titleความมั่นคงในการควบคุมตนของคนหลังกำแพงth_TH
dc.title.alternativeThe durability of self-control of imprisoned peopleen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this mixed-method research with successive explanation approach were (1) to study the level of self-control of imprisoned people; and (2) to explore self-control experience of imprisoned people in Bang Kwang Central Prison. The research sample for the quantitative research consisted of 360 prisoners obtained by incidental sampling; while the key informants for the qualitative research were 8 prisoners purposively selected based on their self-control scores as assessed by a self-control assessment scale being at the high level, having good behaviour records during the past ten years, being able to communicate well, and willing to participate in this study. The employed research instruments were a self-control assessment scale with the whole scale reliability coefficient of .87, a semi-structured interview form, and a field work note taking form. Quantitative data were statistically analysed using the mean, standard deviation, and percentage; while qualitative data were analysed with content analysis to derive at inductive conclusions. The research findings revealed that the overall self-control ability of the majority of prisoners was at the excellent level; and (2) as for self-control experience of prisoners in Bang Kwang Central Prison, three main themes were found, namely, (a) the way of life in a new society, which included two sub-themes as follows: the confrontation with the hard way of life, and the light amidst the hardship; (b) the main keys for self-control, which included two sub-themes, namely, the external factors and the internal factors; and (c) the goal of life, which included two sub-themes, namely, having honest and sufficient occupations, and performing the duty as the main pillar to take care of the familyen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_152257.pdfเอกสารฉบับเติม19.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons