Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8584
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเฟื่องลัดดา สุขดี, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T03:38:47Z-
dc.date.available2023-08-08T03:38:47Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8584en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรกรมส่งเสริมสหกรณ์ จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล (2) ศึกษาระดับคุณลักษณะงาน ระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรกรมส่งเสริมสหกรณ์ (3) ศึกษาปัจจัยคุณลักษณะงานที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากร กรมส่งเสริมสหกรณ์การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรกรมส่งเสริมสหกรณ์ (เฉพาะส่วนกลาง) จำนวน 663 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 249 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิตามสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบค่าที่ การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ ด้วยวิธีการเปรียบเทียบพหุคูณตามวิธี LSD ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรกรมส่งเสริมสหกรณ์ จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล พบว่า เพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และระยะเวลาการทำงาน ที่มีความแตกต่างกัน โดยรวมมีคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกัน ยกเว้น อายุ และสถานภาพการเป็นบุคลากรภาครัฐ ที่มีความแตกต่างกัน โดยภาพรวมมีคุณภาพชีวิตการทำงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (2) ระดับคุณลักษณะงานของบุคลากรกรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลการศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการป้อนกลับจากการทำงาน อยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ด้านความหลากหลายของทักษะ ด้านความเป็นเอกลักษณ์ของงาน ด้านความสำคัญของงาน และด้านความมีอิสระในการทำงาน อยู่ในระดับมาก ตามลำดับ ระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรกรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลการศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความเป็นประโยชน์ต่อสังคม อยู่ในระดับมาก รองลงมาคือด้านความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน ด้านสถานภาพการทำงานที่มีความปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ ด้านการพัฒนาสมรรถภาพของบุคคล ด้านความสมดุลระหว่างชีวิตงานกับชีวิตด้านอื่น ด้านสิทธิของพนักงาน ด้านการบูรณาการทางสังคมหรือการทำงานร่วมกัน อยู่ในระดับมาก ตามลำดับ และด้านการได้รับค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม อยู่ในระดับปานกลาง (3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรกรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลการศึกษา คุณลักษณะงานโดยรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานโดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก มีความสัมพันธ์ทางบวกไปในทิศทางเดียวกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความมีอิสระในการทำงาน ด้านความเป็นเอกลักษณ์ของงาน ด้านความสำคัญของงาน ด้านการป้อนกลับจากการทำงาน และด้านความหลากหลายของทักษะ มีความสัมพันธ์กัน ตามลำดับ.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกรมส่งเสริมสหกรณ์--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleคุณลักษณะงานที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรกรมส่งเสริมสหกรณ์th_TH
dc.title.alternativeJob characteristics affected the quality of working life of personnel in the cooperative promotion departmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) compare the Quality of Working Life (QWL) of personnel in the Cooperative Promotion Department classified by personal factors; (2) study the level of job characteristics, and QWL of personnel in the Cooperative Promotion Department; and (3) study job characteristics affected QWL of personnel in the Cooperative Promotion Department. The population of this survey research was 663 personnel in the Cooperative Promotion Department (only central government). The 249 samples were calculated by using Taro Yamane’s formula with proportionate stratified random sampling. A questionnaire with reliability value of 0.95 was used as a tool to collect the data. The descriptive statistics: percentage, mean, and standard deviation together with inferential statistics: t-test, F-test, One-way Analysis of Variables (One-way ANOVA), and Least Significant Difference. The results of this study were found that: (1) the QWL of personnel in the Cooperative Promotion Department classified by personal factors found that personnel with different gender, marriage status, education, income, and working experiences in overall, had no different of QWL. While personnel with different age, and status of government employee, had different of QWL with statistically significant at 0.05 level. (2) The level of job characteristics of personnel in the ooperative Promotion Department classified by personal factors was overall at a high level. As for individual aspects, it was found that feedback from job was at a high level, followed by skill variety, task identity, task significance, and autonomy respectively. While the levels of QWL of personnel in the Cooperative Promotion Department was at a high level. As for individual aspect, it was found that benefit to society was at a high level, followed by growth and security, safe and healthy working condition, development of human capacities, balance between work and total life space, employee rights, social integration in work organization respectively, and finally, adequate and fair compensation was at the moderate level. (3) Job characteristics factors affected the QWL of personnel in the Cooperative Promotion Department was positively correlated in overall at a high level. As for individual aspects, it was found that the correlation between autonomy, task identity, task significance, feedback from job, and skill variety were related in respectivelyen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_161041.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons