Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8595
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลชลี จงเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอรรณพ จีนะวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสายัน ปิลาผล, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T04:16:38Z-
dc.date.available2023-08-08T04:16:38Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8595-
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา (2) ศึกษาการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำกับการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา แพร่ เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2 จำนวน 100 คน ได้มาโดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน จากนั้นสุ่มแบบมีชั้นภูมิและสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับแบบภาวะผู้นำเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ แบบสอบถามเกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้งเป็นแบบ 2 ตัวเลือก สถิติที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบไค-สแควร์ ผลการวิจัย พบว่า (1) ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2 ส่วนใหญ่เลือกใช้ภาวะผู้นำแบบสนับสนุนซึ่งมีระดับภาวะผู้นำในระดับสูงที่สุด (2) การจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา ส่วนใหญ่ใช้วิธีการจัดการความขัดแย้งแบบการยอมให้ และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำกับการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า แบบภาวะผู้นำทั้ง 4 แบบ คือ ภาวะผู้นำแบบสั่งการ ภาวะผู้นำแบบมุ่งความสำเร็จของงาน ภาวะผู้นำแบบสนับสนุน และภาวะผู้นำแบบให้มีส่วนร่วม มีความสัมพันธ์กับวิธีการจัดการความขัดแย้งแบบการร่วมมือและการยอมให้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2023.1en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผู้บริหารth_TH
dc.subjectความขัดแย้งทางบทบาทth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำกับการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2th_TH
dc.title.alternativeRelationship between leadership styles and conflict management of school administrators under Phrae Primary Education Service Area Office 2th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study the leadership styles of school administrators; (2) to study the conflict management of school administrators; and (3) to study the relationship between leadership styles and conflict management of school administrators under Phrae Primary Education Service Area Office 2. The research sample consisted of 100 school administrators under Phrae Primary Education Service Area Office 2. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table, and the sample was obtained by using stratified and simple random sampling methods. The employed research instruments were a rating scale questionnaire on leadership styles of school administrators and a two-option questionnaire on conflict management. Statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation, and the chi-square test. Research findings revealed that (1) most of school administrators under Phrae Primary Education Service Area Office 2 employed the supportive leadership style at the highest level; (2) the conflict management method which school administrators used was the accommodation method; and (3) regarding the relationship between leadership styles and conflict management method of school administrators, it was found that all four leadership styles were directive leadership style, achievement-oriented leadership style, supportive leadership style, and participative leadership style, had relationship with the collaboration conflict method and accommodation conflict method, which was significant at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
134837.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons