Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8605
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภูริพัฒน์ ชาญกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเสน่ห์ ปานณรงค์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T06:44:22Z-
dc.date.available2023-08-08T06:44:22Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8605-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลและพฤติกรรมในการใช้บริการ รถไฟด่วนพิเศษ ขบวน 43/44 กรุงเทพ – สุราษฎร์ธานี – กรุงเทพ (2) ศึกษาระดับการตัดสินใจเลือกใช้บริการ รถไฟด่วนพิเศษ ขบวน 43/44 กรุงเทพ-สุราษฏร์ธานี-กรุงเทพ จำแนกตามปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด บริการและ (3) เปรียบเทียบการตัดสินใจใช้บริการรถไฟด่วนพิเศษ ขบวน 43/44 กรุงเทพ – สุราษฎร์ธานี – กรุงเทพ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ผู้บริโภคที่ใช้บริการรถไฟด่วนพิเศษ ขบวน 43/44 กรุงเทพ-สุราษฏร์ธานี-กรุงเทพ ในช่วงเดือน เมษายน – พฤษภาคม 2561 ขนาดตัวอย่าง คำนวณตามสูตรของคอแครน ได้จำนวน 400 ราย สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก ใช้แบบสอบถามเป็น เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบผลต่าง นัยสำคัญน้อยที่สุด ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีช่วงอายุระหว่าง 35 -50 ปี มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี มีรายได้จากการประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว มีรายได้ต่อเดือน 15,001-25,000 บาท ส่วนพฤติกรรมการใช้บริการพบว่าผู้ใช้บริการส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์เพื่อกลับ ภูมิลำเนา ลักษณะของการเดินทางแบบเที่ยวเดียว ลักษณะของการซื้อตั๋วเดินทางโดยซื้อในวันเดินทาง มีความถี่ในการใช้บริการ น้อยกว่า 1 ครั้ง/เดือน และส่วนใหญ่จะกลับมาใช้บริการอีก (2) ปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาดบริการ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญโดยรวมอยู่ในระดับมากในทุกด้าน โดยด้านพนักงานบนขบวนรถ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านผลิตภัณฑ์ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ และ (3) เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับการตัดสินใจเลือกใช้บริการ พบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกันมีผลต่อระดับการตัดสินใจเลือกใช้บริการแตกต่างกัน จำแนกตามปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาดบริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectรถไฟ--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมผู้บริโภคในการใช้บริการรถไฟด่วนพิเศษ ขบวน 43/44 กรุงเทพ-สุราษฎร์ธานี-กรุงเทพth_TH
dc.title.alternativeConsumer behavior in using the special express train service: No.43/44 Bangkok-Surat Thani-Bangkokth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study personal factors and behavior in using the Special Express Train Service: No. 43/44 Bangkok – Surat Thani – Bangkok; (2) to study level of decision for using the Special Express Train Service: No. 43/44 Bangkok – Surat Thani – Bangkok classified by service marketing mix factors; and (3) to compare the decision in using the Special Express Train Service: No. 43/44 Bangkok – Surat Thani – Bangkok classified by personal factors. This study was a survey research. Population was customers who traveled by the Special Express Train Service: No. 43/44 Bangkok – Surat Thani – Bangkok between April to May 2018. Sample size was calculated by Cochran’s calculation formula and obtained 400 samples. Sampling method was convenience sampling. Research tool was a questionnaire. Statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA and least significant difference (LSD). The findings revealed that: (1) the majority of the respondents were female aged between 35 -50 years old, hold bachelor degree, doing own business with monthly income range between 15,001- 25,000 Baht. For the customer behaviors, it showed that most of them aimed to return hometown, traveled alone and bought the ticket on the day of traveling, frequency of traveling less than once a month and came back to use the service again; (2) an overall image in service marketing mix factors it showed that the respondents gave the importance on every aspects equally at the highest mean, followed by product itself, service procedure, price, distribution channel, physical characteristics and marketing promotion aspects respectively; and (3) comparison the average of level of decision, it was found that the differences of gender, age, education, career, monthly income influenced to level of decision statistically significant at the 0.05 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
157882.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons