กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8612
ชื่อเรื่อง: การศึกษากระบวนการห่วงโซ่อุปทานของบริษัทจอลลี่ เท็กซ์ไทล์ อินดัสตรี จำกัด
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The study of supply chain process of Jolly Textile Industry Company Limited
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: จีราภรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษา
ศิริขวัญ ขุนรัตนโรจน์, 2522-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
การบริหารงานโลจิสติกส์
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
วันที่เผยแพร่: 2551
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษากระบวนการห่วงโซ่อุปทานของบริษัท จอลลี่ เท็กซ์ไทส์ อินคัสตรี จำกัด (2)เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนากระบวนการห่วงโซ่อุปทาน ของบริษัท จอลลี่ เท็กซ์ไทล์ อินดัสตรี จำกัด วิธีการศึกษาใช้วิธีการสัมภาษณ์หัวหน้างาน 5 ฝ่าย คือ ฝ่ายดีเทล ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายส่งออก และฝ่ายบัญชี เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และการเขียนผังงาน ผลการศึกษาพบว่า (1) กระบวนการห่วงโซ่อุปทานของบริษัท จอลลี่ เท็กซ์ไทล์ อินคัสตรี จำกัด เริ่มจากการรับคำสั่งซื้อของลูกค้าจากประเทศสหรัฐอเมริกา คือ THE WILLIAM CARTER COMPANY โดยผ่านผู้แทนจำหน่ายในประเทศไทย คือ บริษัท ลี แอนด์ ฟุ้ง (ประเทศ ไทย) จำกัด ทางบริษัท จอลลี่ เท็กซ์ไทล์ อินดัสตรี จำกัด จะทำการเลือกแบบสินค้าที่สามารถผลิต ได้ทันเวลาในการจัดส่งตามที่กำหนด โดยเริ่มจากทางฝ่ายดีเทลก็จะทำการเตรียมรายละเอียดสินค้า กับทางฝ่ายผลิต เพื่อจะได้ผลิตสินค้าตามแบบที่กำหนด ในส่วนของการจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบนั้น ทาง ฝ่ายจัดซื้อได้ทำการคูรายละเอียดสินค้าแล้วก็จะพิจารณาสั่งวัตถุดิบการผลิตจากผู้จัดหาวัตถุดิบ 3 แห่ง คือ บริษัท นันยางแฟบริค จำกัด บริษัท วายเกเค (ประเทศไทย) จำกัด และบริษัท ทองไพบูลย์ บรรจุกัณฑ์ จำกัด ปัญหาในกระบวนการห่วงโซ่อุปทานที่พบ คือ การส่งวัตถุคิบล่าช้าและไม่ได้ คุณภาพตามที่ต้องการ โดยมีสาเหตุหลักมาจากการติดต่อสื่อสาร ซึ่งส่วนใหญ่ใช้การติดต่อสื่อสาร ด้วยการโทรศัพท์ ทำให้ขาดการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ถูกต้องต่อกัน (2) แนวทางการพัฒนากระบวน การห่วงโซ่อุปทานของบริษัท คือ การแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน ที่เป็นสิ่งสำคัญในการดำเนิน งานของบริษัท เพราะมีการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกันน้อย โดยการให้นำเทกโนโลยี ใหม่ๆเข้ามาช่วย เช่น การใช้ E-mail ในการติดต่อสื่อสาร ไปจนถึงการใช้ระบบ VMI
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8612
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
122035.pdf2.49 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons