Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8626
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรางคณา โตโพธิ์ไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกรรณิกา ธีรวัฒน์วิทยา, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T08:04:53Z-
dc.date.available2023-08-08T08:04:53Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8626-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิง ประสบการณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การออกแบบและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ (2) ศึกษาความก้าวหน้า ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ และ (3) ศึกษา ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 50 คน ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 ที่โรงเรียนวัดอัมภาราม (เทิ่งอนุสรณ์) เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์แบบ อิงประสบการณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การออกแบบและเทคโนโลยี จำนวน 3 หน่วย คือ หน่วยประสบการณ์ที่ 6 การสำรวจเทคโนโลยีภายในโรงเรียน หน่วยประสบการณ์ที่ 7 การสำรวจสิ่งของเครื่องใช้ที่สามารถนา กลับมาใช้ซ้ำ และ หน่วยประสบการณ์ที่ 8 การสร้างสิ่งของจาก แผ่นซีดีที่ใช้แล้ว (2) แบบทดสอบก่อนและหลังเผชิญประสบการณ์ แบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถาม ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ที่ผลิตขึ้นทั้ง 3 หน่วยประสบการณ์ มีประสิทธิภาพ 79.61/79.76, 80.05/82.44 และ 80.49/80.12 ตามลำดับเป็นไปตาม เกณฑ์ 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์มีความก้าวหน้า ทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดการเรียน ทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ในระดับเห็นด้วยมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectการศึกษาขั้นประถม -- การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.titleชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่อง การออกแบบและเทคโนโลยีสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3th_TH
dc.title.alternativeE-learning packages for experience-based instruction in the career and technology learning area on design and technology for Prathom Suksa III students in Buri Ram Primary Education Service Area 3th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop a set of e-learning packages for experience-based instruction in the Career and Technology Learning Area on Design and Technology for Prathom Suksa III students based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to study the learning progress of the students learning from the elearning packages for experience-based instruction; and (3) to study opinions of the students toward the e-learning packages for experience-based instruction. The research sample consisted of 50 Prathom Suksa III students studying in the first semester of the 2012 academic year at Wat Ampharam (Toeng Anusorn) School in Buri Ram Primary Education Service Area 3, obtained by cluster sampling. The employed research instruments comprised (1) three unite of e-learning packages for experience-based instruction in the Career and Technology Learning Area on Design and Technology, namely, Experience Unit 6: Exploring Technology within School; Experience Unit 7: Exploring Instruments and Objects that Can Be Reused; and Experience Unit 8: Building Objects from Used CDs; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire on the student’s opinions toward e-learning packages for experience-based instruction. Statistics used for data analysis were the E1/E2 efficiency index, t-test, mean, and standard deviation. Research findings showed that (1) the three units of e-learning packages for experience-based instruction were efficient at 79.61/79.76, 80.05/82.44 and 80.49/80.12, respectively, thus meeting the set 80/80 efficiency criterion; (2) students learning from the e-learning packages for experience-based instruction achieved significant learning progress at the .05 level; and (3) opinions of the students toward the e-learning packages for experience-based instruction were at the highly agreeable levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137389.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons