Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/862
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธโสธร ตู้ทองคำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกมล สุขศีล, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T08:34:18Z-
dc.date.available2022-08-20T08:34:18Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/862-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สาเหตุที่ทำให้กลุ่มพัฒนาเมืองแม่สอด มีบทบาทในการผลักดันการจัดตั้งจังหวัดแม่สอด (2) บทบาทของกลุ่มพัฒนาแม่สอดในการผลักดันการจัดตั้งจังหวัดแม่สอด (3) ปัจจัยที่ส่งเสริมสนับสมุนและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการแสดงบทบาทของกลุ่มพัฒนาแม่สอด ในการผลักดันการจัดตั้งจังหวัดแม่สอด การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยดำเนินการ 2 ส่วน ได้แก่ การวิจัยเอกสาร การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ประชากรประกอบด้วย สมาชิกกลุ่มพัฒนาแม่สอด ข้าราชการนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่น นักวิชาการ สื่อมวลชน เจ้าหน้าที่องค์การพัฒนาเอกชน พ่อค้า นักธุรกิจ และเกษตรกร กลุ่มตัวอย่าง คือ สมาชิกกลุ่มพัฒนาแม่สอด จำนวน 6 คน ข้าราชการ จำนวน 5 คน นักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่น จำนวน 4 คน นักวิชาการ สื่อมวลชน เจ้าหน้าที่ องค์การพัฒนาเอกชน จำนวน 3 คน พ่อค้า นักธุรกิจ และเกษตรกร จำนวน 4 คน โดยการสัมภาษณ์ ตามแบบสัมภาษณ์แล้วนำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์ในเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) สาเหตุสำคัญที่ทำให้กลุ่มพัฒนาแม่สอด มีบทบาทใน การผลักดันการจัดตั้งจังหวัดแม่สอด คือ ความต้องการตำแหน่งทางการเมืองของผู้นำกลุ่ม ความต้องการขยายฐานอำนาจทางธุรกิจชองสมาชิกกสุ่มพัฒนาแม่สอด การที่กลุ่มพัฒนาแม่สอด เป็นที่ยอมรับของกลุ่มการเมืองอื่น ๆ (2) บทบาทที่สำคัญของกลุ่มพัฒนาแม่สอด คือ การเชื่อม ประสานกับรัฐบาลและประชาชน และการนำเสนอนโยบายสาธารณะไปสู่รัฐบาลและระบบ ราชการ (3) ปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมสนับสบุนการแสดงบทบาทของกลุ่มพัฒนาแม่สอดในการ ผลักดันการจัดตั้งจังหวัดแม่สอด คือ ความสามารถของผู้นำกลุ่ม และการสนับสบุนจาก ภาคเอกชนในพื้นที่ ส่วนปัจจัยที่เป็นปัญหาอุปสรรค คือ กลุ่มพัฒนาแม่สอดมีขนาดเล็กและ นโยบายของรัฐบาลที่ต้องการให้อำเภอแม่สอดเป็นพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษมากกว่าเป็นจังหวัดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกลุ่มอิทธิพล -- แง่การเมืองth_TH
dc.subjectการปกครองท้องถิ่น -- ไทย -- ตาก -- การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.titleบทบาทของกลุ่มพัฒนาแม่สอด ในการผลักดันการจัดตั้งจังหวัดแม่สอดth_TH
dc.title.alternativeThe role of the Mae Sot development group in promoting the upgrading of Mae Sot to the statue of provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study ะ (1) the cause of role in promoting the upgrading of Mae Sot to status of Province of the Mae Sot Development Group; (2) the role ofthe Mae Sot Development Group in pushing to have Mae Sot’s status upgraded to province; and (3) supporting and detracting factors involved in the Mae Sot Development Group’s performanceof this role. This was a qualitative research carried out in two parts: document research and in- depth interviews. The sample population consisted of 6 members of the Mae Sot Development Group, 5 government officials, 4 national and local level politicians, 3 representatives of academia, the media and non-governmental organizations, and 4 representatives of merchants, business people and fanners in Mae Sot. The data from the in-depth interviews were analyzed using descriptive analysis. The results showed that (1) the major cause the Mae Sot Development Group had a role in pushing to have Mae Sot upgraded to the status of province was that the group leaders desired political positions. They also wanted to expand their member’s business power base and gian the acceptance of other political groups; (2) the major roles of the Mae Sot Development Group were to liaise between the government and the people and to recommend public policy to the government and the bureaucracy; and (3) the major supporting factors were the abilities of the group leaders and support from the private sector in the area. The main detracting factors were the small size of the group and the government’s policy of establishing Mae Sot as a special economic zone rather than upgrading its status to provinceen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib107673.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons