Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8630
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกล้า ทองขาวth_TH
dc.contributor.authorอัปสร ยิ่งเจริญ, 2491-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T08:17:55Z-
dc.date.available2023-08-08T08:17:55Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8630en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาเอกชนในเขตพื้นที่การศึกษาลำปางเขต 1 และ (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนเกี่ยวกับกระบวนการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาเอกชนในเขตพื้นที่การศึกษาลำปาง เขต 1 จําแนกตามตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทํางาน กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนในสถานศึกษาเอกชนในเขตพื้นที่การศึกษาลำปางเขต 1 จำนวน 315 คน เป็นผู้บริหารสถานศึกษา 66 คน และครูผู้สอน 249 คน ในปีการศึกษา 2550 ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงและการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นแบบมาตรประมาณค่า มีค่าความเที่ยง .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการทดสอบค่าเฉลี่ยราย โดยวิธีเซฟเฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) กระบวนการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาเอกชนในเขตพื้นที่การศึกษาลำปางเขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้านการธำรงรักษาและพัฒนาบุคคลอยู่ในระดับปานกลาง (2) ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาเอกชนในเขตพื้นที่การศึกษาลำปางเขต 1 แตกต่างกันในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกด้าน ยกเว้นด้านการสรรหาและคัดเลือกบุคคลพบว่าไม่แตกต่างกัน (3) ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาเอกชนในภาพรวม และรายด้านไม่แตกต่างกัน สำหรับครูผู้สอน พบว่า ครูผู้สอนที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาเอกชน ในภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่การพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน และ (4) ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาเอกชนทั้งในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน สำหรับครูผู้สอน พบว่า ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการบริหารงานบุคคล ของสถานศึกษาเอกชน ในภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่การพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้านการวางแผนงานบุคคลและการธำรงรักษาและพัฒนาบุคคลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงเรียนเอกชน--การบริหารงานบุคคล--ไทย--ลำปางth_TH
dc.subjectการบริหารงานบุคคลth_TH
dc.titleกระบวนการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาเอกชน ในเขตพื้นที่การศึกษาลำปาง เขต 1th_TH
dc.title.alternativePersonnel administration process in private schools in Lumpang Educational Service Area 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOIhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.280en_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) study personnel administration process in private schools in Lampang Educational Service Area 1; and (2) compare opinions of school administrators and teachers on the personnel administration process in private schools in Lampang Educational Service Area 1, as classified by position, educational level, and work experience. The research sample totaling 315 school personnel consisted of 66 school administrators and 249 teachers from all private schools in Lampang Educational Service Area 1 in the 2007acadcmic year, obtained by purposive selection and random sampling, respectively. The employed research instrument was a rating scale questionnaire, devised by the researcher, with .938 reliability coefficient. Statistics for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, and Scheffe’s method. Research findings were as follows: (1) the overall personnel administration process of private schools in Lampang Educational Service Area 1 was rated at the high level, excepting the aspect of maintenance and development of personnel which was rated at the moderate level; (2) school administrators and teachers differed significantly at the .01 level in their opinions on the overall personnel administration process of private schools in Lampang Educational Service Area 1; when considered by aspect, it was found that their opinions were significantly different in every aspect, excepting in the aspect of recruitment and screening of personnel, which no significant difference was found; (3) school administrators with different educational levels did not significantly differ in their opinions on the overall and by-aspect personnel administration process; as for teachers, it was found that teachers with different educational levels did not differ significantly in their opinions on the overall personnel administration process; but when considered by aspect, significant difference was found in their opinions on the aspect of work performance evaluation; and (4) school administrators with different work experiences did not significantly differ in their opinions on the overall and by-aspect personnel administration process; as for teachers, it was found that teachers with different work experiences did not significantly differ in their opinions on the overall personnel administration process, but significantly differed at the .05 level in their opinions on the aspects of personnel planning and personnel maintenance and development.en_US
dc.contributor.coadvisorชวลิต หมื่นนุชth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons