Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8637
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัจฉราพร สิมมะลี-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T08:55:57Z-
dc.date.available2023-08-08T08:55:57Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8637-
dc.description.abstractการศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการบริหารงานพัสดุขององค์การบริหารส่วน ตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี (2) ศึกษาระดับปัญหาการบริหารงานพัสดุขององค์การบริหาร ส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี (3) เปรียบเทียบสภาพการบริหารงานพัสดุขององค์การ บริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี จำแนกตามลักษณะขององค์การบริหารส่วนตำบล และปัจจัยส่วนบุคคล (4) เปรียบเทียบปัญหาการบริหารงานพัสดุขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขต อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี จำแนกตามลักษณะขององค์การบริหารส่วนตำบลและปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารและบุคลากรขององค์การ บริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี จำนวน 75 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) สภาพการบริหารงานพัสดุขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขต อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี โดยภาพรวมพบว่า ระดับการปฏิบัติอยู่ ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการจัดหาพัสดุ ด้านการวางแผนกำหนดความต้องการ ด้านการ ควบคุมพัสดุ และด้านการจำหน่ายพัสดุตามลำดับ (2) ปัญหาในการบริหารงานพัสดุขององค์การบริหาร ส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี โดยภาพรวมพบว่า ระดับปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้าน ด้านการวางแผนกาหนดความต้องการ ด้าน การจัดหาพัสดุ ด้านการควบคุมพัสดุ และด้านการจำหน่ายพัสดุตามลำดับ (3) ผลการเปรียบเทียบสภาพการ บริหารงานพัสดุขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานีจำแนกตามลักษณะของ องค์การบริหารส่วนตำบลและปัจจัยส่วนบุคคลโดยภาพรวมพบว่า ไม่แตกต่างกัน (4) ผลการเปรียบเทียบ ปัญหาการบริหารงานพัสดุขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานีจำแนกตามลักษณะ ขององค์การบริหารส่วนตำบลและปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบล ขนาด องค์การบริหารส่วนตำบล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ส่วนสถานภาพการดำรงตำแหน่ง ประสบการณ์ในการทำงาน ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพัสดุ--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleสภาพและปัญหาการบริหารงานพัสดุขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeCircumstance and problems of material management of Subdistrict Administrative Organization in the Muang District, Udonthani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study circumstance of material management of Subdistrict Administrative Organization in Muang District, Udonthani Province; (2) to study problems of material management of Subdistrict Administrative Organization in Muang District, Udonthani Province; (3)to compare circumstance of material management of Subdistrict Administrative Organization in Muang District, Udonthani Province, classified by its characteristics and personal factors; (4) to compare problems of material management of Subdistrict administrative organization in Muang District, Udonthani Province, classified by its characteristics and personal factors. This study was a survey research. The samples were management and personnel of Subdistrict Administrative Organization in Muang District Udonthani Province as a total of 75 samples. A questionnaire was used to collect data. Statistical analysis employed were percent, mean, standard deviation, t– test, f– test, and One - Way ANOVA. The results showed that (1) the overall circumstance of Subdistrict Administrative Organization in Muang District, Udonthani Province was at a high level, including procurement, planning requirements, inventory control and material dispense respectively. (2)The overall problem of material management of the Subdistrict Administrative Organization in Muang District, Udonthani Province, was at a middle level, including planning requirements, procurement, inventory control and material dispense respectively. (3) The result of the comparison of circumstance of material management of the Subdistrict Administrative Organization in Muang District, Udonthani Province , classified by its characteristics and personal factors, was not different. (4) The comparison of Problems of Material management of Subdistrict Administrative Organization in Muang District, Udonthani Province, classified by its characteristics and personal factors showed that the income and the size of Subdistrict Administration Organization were statistically different at 0.05 significant level. Position and year of working experience were not differenten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158688.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons