Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8640
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกาญจนา รัตนะราช, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T03:09:39Z-
dc.date.available2023-08-09T03:09:39Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8640-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ไม่พึ่งอินซูลิน ก่อนและหลังให้การปรึกษาเป็นรายบุคคลตามทฤษฎีการให้การปรึกษาแบบผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลางและ (2) เปรียบเทียบความแตกต่างการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ไม่พึ่งอินซูลิน กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ไม่พึ่งอินซูลิน โรงพยาบาลรามาธิบดี ที่มีอายุระหว่าง 18 – 60 ปี จำนวน 16 คน ใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย เป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 8 คน ให้ได้รับการปรึกษาเป็นรายบุคคล และกลุ่มควบคุม จำนวน 8 คน ได้รับข้อสนเทศ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) โปรแกรมการให้การปรึกษาเป็นรายบุคคลโดยใช้ทฤษฎีการให้การปรึกษาแบบผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลาง (2) โปรแกรมการให้ข้อสนเทศ และ (3) แบบวัดการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ไม่พึ่งอินซูลิน ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิตินันพาราเมตริก ใช้การทดสอบแมนวิทนีย์และวิลคอกซัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ไม่พึ่งอินซูลิน หลังจากได้รับการให้การปรึกษาเป็นรายบุคคลตามทฤษฎีการให้การปรึกษาแบบผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลางมีการเห็นคุณค่าในตนเองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ภายหลังการทดลองผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ไม่พึ่งอินซูลิน กลุ่มได้รับการให้การปรึกษาเป็นรายบุคคล มีการเห็นคุณค่าในตนเองสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับข้อสนเทศ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลรามาธิบดี -- บริการทางการแพทย์th_TH
dc.subjectเบาหวาน -- การดูแลตนเองth_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาth_TH
dc.titleผลการใช้โปรแกรมการให้การปรึกษาเป็นรายบุคคลตามทฤษฎีการให้การปรึกษาแบบผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลาง เพื่อเพิ่มการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2 ไม่พึ่งอินซูลิน โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeEffects of individual counseling based on the client-centered theory to enhance self-esteem of patients with insulin-independent diabetes mellitus type 2 in Ramathibodi Hospital, Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare self-esteem perceptions of patients with insulin-independent diabetes mellitus type 2 before and after receiving individual counseling based on the client-centered theory; and (2) to compare self-esteem perceptions of patients with insulin-independent diabetes mellitus type 2 in the experimental and control groups. The sample consisted of 16 patients in Ramathibodi hospital, aged 18-60 years, diagnosed as having insulin-independent diabetes mellitus type 2 two years ago, who volunteered to participate in this study. One group of 8 patients was randomly assigned as the experimental group to receive individual counseling; the other group also of 8 patients, the control group to receive counseling information. The employed research instruments were (1) an individual counseling program based on the client-centered theory, (2) a counseling information program, and (3) a self-esteem assessment form for patients with insulin-independent diabetes mellitus type 2, with .89 reliability coefficient. Statistics for data analysis were non-parametric statistics of the Mann-Whitney U test and the Wilcoxon matched pairs signed ranks test. Research finding revealed that (1) the post-experiment self-esteem mean score of the patients with insulin-independent diabetes mellitus type 2 who received individual counseling based on the client-centered theory was significantly higher than their pre-experiment counterpart mean score at the .05 level; (2) the self-esteem mean score of the group of patients with insulin-independent diabetes mellitus type 2 who received individual counseling was significantly higher than the counterpart mean score of the group of patients who received counseling information at the .01 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137454.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons