Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8654
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ศิริพรรณ พักศาลา, 2511- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-09T06:22:00Z | - |
dc.date.available | 2023-08-09T06:22:00Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8654 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบระดับการลดความเครียดของนักศึกษาผู้ช่วยพยาบาลก่อนและหลังการปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดทฤษฎีผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลาง และ (2) เปรียบเทียบระดับการลดความเครียดของนักศึกษาผู้ช่วยพยาบาลระยะหลังการทดลองกับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาผู้ช่วยพยาบาลโรงเรียนผู้ช่วยพยาบาล คณะเวชศาสตร์เขต ร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ในปีการศึกษา 2559 ที่มีระดับความเครียดสูงจำนวน 10 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย ได้เข้าร่วมรับการปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดทฤษฎีผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลาง เพื่อลดความเครียดของนักศึกษาผู้ช่วยพยาบาล จำนวน 7 ครั้ง เครื่องมือที่ใช้ไนการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมการปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดทฤษฎีผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลาง และแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ไนการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการทดสอบ เครื่องหมายการจัดอันดับแบบวิลคอกชัน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักศึกษาผู้ช่วยพยาบาลที่ได้รับการปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดทฤษฎีผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลางมีความเครียดลดลงอย่างมีค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) เมื่อเปรียบเทียบระดับการลดความเครียดหลังการทดลอง และในระยะติดตามผลมีค่าการลดระดับความเครียดไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม | th_TH |
dc.subject | ความเครียด (จิตวิทยา) | th_TH |
dc.subject | การบริหารความเครียด | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา | th_TH |
dc.title | ผลของการปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดทฤษฎีผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลางเพื่อลดความเครียดของนักศึกษาผู้ช่วยพยาบาลโรงเรียนผู้ช่วยพยาบาลคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of client-centered group counseling on stress reduction of nurse assistant students of Nurse Assistant School, Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to compare the stress reduction levels of nurse assistant students before and after receiving client-centered group counseling; and (2) to compare the stress reduction level of nurse assistant students at the end of the experiment with their stress reduction level during the follow-up period. The research sample consisted of 10 nursing students with high level of stress who were studying at Nurse Assistant School, Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University during the 2016 academic year, obtained by random sampling. They participated in client-centered group counseling to reduce the level of their stress for seven periods. The employed research instruments were a client-centered group counseling program, and a scale to assess stress level. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean and Wilcoxon Match-Pairs Signed Rank Test. Research findings were as follows: (1) nurse assistant students who received client-centered group counseling had reduced their stress level significantly at the .05 level of statistical significance; and (2) no significant difference was found when their stress reduction level at the end of the experiment and that during the follow-up period were compared | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_156331.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License