Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/865
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสนีย์ คำสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกองแพง พันธัง, 2511--
dc.date.accessioned2022-08-20T08:51:38Z-
dc.date.available2022-08-20T08:51:38Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/865-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ขั้นตอนของการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ในการเลือกตั้งท้องถิ่นระหว่างผู้มีสิทธิเลือกตั้งกับผู้สมัครรับเลือกตั้งในเขตอำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี (2) เงื่อนไขข้อตกลงการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ในการเลือกตั้งท้องถิ่นระหว่างผู้มีสิทธิเลือกตั้งกับผู้สมัครรับเลือกตั้งในเขตอำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรีและ (3) ปัญหาและอุปสรรคในกระบวนการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ในการเลือกตั้งท้องถิ่น ระหว่างผู้มีสิทธิเลือกตั้งกับผู้สมัครรับเลือกตั้งในเขตอําเภอบ้านบึง จังหวดชลบุรี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ใช้การคัดเลือกแบบเจาะจง มีจํานวน 45 คน ได้แก่ ประธานชุมชน จํานวน 10 คน กำนัน จํานวน 4 คน ผู้ใหญ่บ้าน จํานวน 10 คน ผู้สมัครรับเลือกตั้ง จำนวน 11 คน และหัวคะแนน จํานวน 10 คน เก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสัมภาษณ์ และใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) ขั้นตอนของการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ก่อนการเลือกตั้งมีการติดต่อ และตกลงกับทีมงานหัวคะแนน และหัวคะแนนกับประชาชน ในระหว่างการรณรง์คหาเสียงเลือกตั้ง มีการติดต่อกับผู้มีสิทธิเลือกตั้งโดยตรง และผ่านทางคนกลาง (หัวคะแนน) หลังการเลือกตั้งมีการแจกจ่ายรางวัลและโบนัสและช่วยเหลือตามที่ตกลงสัญญาไว้ (2) เงื่อนไขข้อตกลง ประกอบด้วย คะแนนเสียง เงิน คํามั่นสัญญา โครงการ หรือกิจกรรม โบนัส รางวัลการช่วยเหลือส่วนตัว ผลงานลอื่นๆ และ (3) ปัญหา และอุปสรรคในกระบวนการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ในการเลือกตั้งได้แก่การทุจริตยักยอกเงินจ่ายซื้อ คะแนนเสียง หัวคะแนนหักหัวคิว การข่มขู่หัวคะแนน หรือการไม่ทําตามสัญญาของผู้มีสิทธิเลือกตั้งผู้มีสิทธิเลือกตั้งรับเงินแล้วไม่เลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งที่จ่ายเงินให้ การพัฒนาการด้านการศึกษาของ ประชาชนการรับรู้กฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้ง การมีจิตสํานึกความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย คณะกรรมการการเลือกตั้งและหน่วยงานที่จัดการเลือกตั้งและการสื่อสารมวลชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.256en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเลือกตั้งท้องถิ่น -- ไทย -- ชลบุรีth_TH
dc.titleกระบวนการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์เกี่ยวกับการเลือกตั้งท้องถิ่นระหว่างผู้มีสิทธิเลือกตั้งกับผู้สมัครรับเลือกตั้งในเขตอำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe processes of interests exchange in local election between the voters and the candidates in Ban Bung District, Chon Buri Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.256en_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) the steps in the exchange of interests between voters and candidates during local elections in Ban Bueng District, Chon Buri Province; (2) the terms of agreements to exchange interests; and (3) problems in and obstacles to the process of the exchange of interests. This was a qualitative research. The sample population of 45 people, chosen through purposive sampling, consisted of 10 community presidents, 4 kumnan, 10 village headmen, 11 candidates for political office, and 10 election campaigners. Data were collected using an interview form and analyzed through descriptive analysis. The results showed that: (1) As for the steps in the exchange of interests, before the election the campaigners met and made agreements with their work team members and with the voters. During the election campaign, the candidates contacted the voters directly and indirectly through their campaigners. After the election the winners paid rewards and bonuses and provided assistance as promised. (2) The terms of the agreements consisted of votes, money, promises, projects or activities, bonuses, rewards, personal assistance, work results and other. (3) Problems in the process of exchange of interests consisted of embezzlement of money intended for vote buying, campaigners taking a commission or percentage of the money for vote-buying, threats to campaigners, failure of voters to uphold the agreement, voters voting for another candidate after receiving money from one, development in voter education, citizens becoming aware of election laws, awareness of the meaning of citizenship in a democracy, the work of the election committee and agencies that organize the election, and the work of the mass mediaen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib128973.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons