Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8663
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญศรี พรหมมาพันธุ์ | th_TH |
dc.contributor.author | รำพัน ลีหล้าน้อย, 2504- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-09T06:50:33Z | - |
dc.date.available | 2023-08-09T06:50:33Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8663 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทาง วิทายาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 3 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 3 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 3 จำนวน 601 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความตรง ความเที่ยง ความยากและอำนาจจำแนก ผลการวิจัยพบว่า (1) แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่สร้างขึ้นมีจำนวน 58 ข้อ วัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ ได้แก่การสังเกต การวัด การจำแนกประเภท การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา การคำนวณ การจัดกระทำข้อมูลและสื่อความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็นจากข้อมูล การพยากรณ์ การตั้งสมมติฐาน การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การกำหนดควบคุมตัวแปร การทดลอง และการตีความความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป และ (2) แบบวัดทักษะกระบวนทางวิทยาศาสตร์มีค่าความตรงระหว่าง .86 -1.00 ค่าความเที่ยงเท่ากับ .83 ค่าความยากระหว่าง .21 -.75 และค่าอำนาจจำแนกระหว่าง .23 -.71 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.150 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.title | การพัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 | th_TH |
dc.title.alternative | Development of a science process skills test for Prathom Suksa VI Students in Roi Et Primary Education Service Area 3 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to develop a science process skills test for Prathom Suksa VI students in Roi Et Primary Education Service Area 3; and (2) to verify the quality of the science process skills test for Prathom Suksa VI students in Roi Et Primary Education Service Area 3. The sample consisted of 601 Prathom Suksa VI students in Roi Et Primary Education Service Area 3, obtained by multi-stage sampling. The instruments used in this research were a science process skills test. The data were analyzed to determine quality of the test in terms of validity, reliability, difficulty index, and discrimination index. Research findings were as follows: (1) the developed science process skills test contained 58 test items for assessment of 13 science process skills, namely, observing, classifying, finding space/space and space/time relationships, calculating, data processing and communicating, inferring, predicting, formulating hypothesis, formulating operational definition, identifying and controlling variables, experimenting, interpreting data, and making conclusion; and (2) the validity indices of the test were in the range of .86 to 1.00; the reliability was .83; the difficulty indices were in the range of .21 to .75; and the discrimination indices were in the range of .23 to .71, all of which met the predetermined criteria. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ลาวัลย์ รักสัตย์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
137731.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License