กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8678
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จําเนียร ราชแพทยาคม | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฏฐ์ธนิน พรหมพัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-09T07:37:13Z | - |
dc.date.available | 2023-08-09T07:37:13Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8678 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสํานักประชาสัมพันธ์เขต 5 สุราษฎร์ธานี (2) ศึกษาระดับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรสํานักประชาสัมพันธ์เขต 5 สุราษฎร์ธานี (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อองค์การกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ บุคลากรสํานักประชาสัมพันธ์เขต 5 สุราษฎร์ธานี และ(4) เสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรสํานักประชาสัมพันธ์เขต 5 สุราษฎร์ธานี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ศึกษา คือ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในสังกัดสํานัก ประชาสัมพันธ์เขต 5 สุราษฎร์ธานีในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ประกอบด้วยจังหวัดชุมพร ระนอง ภูเก็ต พังงากระบี่ สุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช จํานวน 304 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่าง จากสูตรของ ทาโร ยามาเน ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 173 คน โดยสุ่มตัวอยางแบบชั้นภูมิแบ่งสัดส่วนและการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือ ที่ใช้ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสํานักประชาสัมพันธ์เขต 5 สุราษฎร์ธานี ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2) ระดับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรสํานัก ประชาสัมพันธ์เขต 5 สุราษฎร์ธานีในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3) ความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อองค์การ กับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรสํานักประชาสัมพันธ์เขต 5 สุราษฎร์ธานี พบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ ความผูกพันต่อองค์การในด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านลักษณะองค์การ ด้านคุณภาพชีวิตในการทํางาน มี ความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสํานักประชาสัมพันธ์เขต 5 สุราษฏร์ธานีและด้านภาวะผู้นําของผู้บังคับบัญชามีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับตํ่ากับประสิทธิผลการ ปฏิบัติงานของบุคลากรสํานักประชาสัมพันธ์เขต 5 สุราษฏร์ธานี อย่างมีนัยสําคัญที่ ระดับ 0.01และ (4) ข้อเสนอแนะ คือ1) ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติควรสนับสนุนให้มีความเจริญก้าวหน้าตามความรู้ความสามารถ มีการเลื่อนตําแหน่ง และเลื่อนขั้นเงินเดือนด้วยความเป็นธรรม 2) ด้านลักษณะองค์การ ควรมีโครงสร้างงานที่ชัดเจน บุคลากรแต่ละราย ทํางานตามโครงสร้างที่กําหนด 3) ด้านภาวะผู้นําของผู้บังคับบัญชาควรมีการพิจารณาให้ผู้บังคับบัญชามี ความก้าวหน้าในสายอาชีพ เพื่อเป็นขวัญกำลังใจในการทํางาน 4) ด้านคุณภาพชีวิตในการทํางาน ควรเพิ่มจํานวนบุคลากรในหน่วยงาน เพื่อให้สอดคล้องกับงานที่ต้องรับผิดชอบ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สำนักประชาสัมพันธ์เขต 5 สุราษฎร์ธานี--ข้าราชการและพนักงาน | th_TH |
dc.subject | ความผูกพันต่อองค์การ--ไทย--สุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อองค์การกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักประชาสัมพันธ์เขต 5 สุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Relationship between organizational commitment and performance result of personnel of Public Relations Office Region 5 Suratthani | en_US |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to: (1) study level of organizational commitment of personnel of Public Relations Office Region 5 Suratthani; (2) study level of performance result of personnel of Public Relations Office Region 5 Suratthani; (3) study the relationship between organizational commitment and performance result of personnel of Public Relations Office Region 5 Suratthani; and (4) recommend approaches to promote organizational commitment in order to increase performance result of personnel of Public Relations Office Region 5 Suratthani. This study was a survey research. Population was 304 personnel working for Public Relations Office Region 5 Suratthani covering 7 provinces of upper northern south which comprised of Chumporn, Ranong, Phuket, Phang-nga, Krabi, Suratthani and Nakhon Si Thammarat. Sample size was determined by Taro Yamane’s calculation formula and derived 173 samples. Sampling was stratified random and simple sampling. Research instrument was a questionnaire. Statistics used for data analysis were percentage, frequency, mean, standard deviation and Pearson Correlation Coefficient. The results revealed that: (1) an overview image of level of organizational commitment of personnel of Public Relations Office Region 5 Suratthani was at moderate level; (2) an overview image of level of performance result of personnel of Public Relations Office Region 5 Suratthani was at high level; (3) the relationship between organizational commitment and performance result of personnel of Public Relations Office Region 5Suratthani, it was found that factors associated to organizational commitment on job-related characteristics, organizational characteristics and quality of work life had positive relationship at moderate level with performance result of personnel of Public Relations Office Region 5 Suratthani. Leadership had positive relationship at low level with performance result of personnel of Public Relations Office Region 5 Suratthani with statistically significance at the level of .01; and (4) recommendations were 1) job-related characteristic: the organization should support that advancement of personnel according to knowledge or skills-based and merit system principle, 2) organizational characteristics: there should have clear structure and personnel was put in the right position, 3) leadership: there should have career development, 4) quality of working life: there should increase number of personnel to be aligned with the responsible job. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
152233.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.07 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License