Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8685
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์th_TH
dc.contributor.authorกัมม์ธร ทองทิพย์, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T08:04:55Z-
dc.date.available2023-08-09T08:04:55Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8685en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กับความผิดฐานทําร้ายร่างกายตามมาตรา 295 มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาถึงแนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับความผิดทางอาญา กระบวนการยุติธรรมทางอาญา และกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์โดยศึกษาถึงความรับผิดทางอาญาตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในความผิดฐานทําร้ายร่างกาย และศึกษากระบวนการยุติธรรม เชิงสมานฉันท์ รูปแบบ วิธีการและความเหมาะสมกับการนํามาใช้กับผู้กระทําความผิดฐานทําร้ายร่างกาย เพื่อวิเคราะห์การนํากระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้กับความผิดฐานทําร้ายร่างกาย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ จะดําเนินการศึกษาค้นคว้าโดยอาศัยวิธีการ ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร โดยศึกษาจากข้อมูลเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นวิทยานิพนธ์ หนังสือ ตํารา วารสาร ตัวบทกฎหมาย ผลงานหรือรายงานการวิจัย บทความ สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ ทางกฎหมาย และข้อมูลจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อรวบรวมข้อมูลนํามาประกอบการวิเคราะห์ เพื่อประเมินผลและข้อเสนอแนะต่อไป ผลจากการศึกษาพบว่า กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์เป็นมาตรการทางเลือกของกระบวนการยุติธรรมทางอาญากระแสหลักในการที่จะเบี่ยงเบนคดีลดปริมาณคดีที่จะขึ้นสู่ศาล อันเป็นการช่วยประหยัดเวลาและทรัพยากรทั้งช่วยในการเยียวยาแก้ไขทําให้ผู้เสียหายเกิดความพึงพอใจ ได้รับการฟื้นฟูโดยเร็วเป็นผลดีต่อตัวผู้กระทําความผิดที่ไม่ต้องมีประวัติติดตัว ทุกฝ่ายต่างได้รับผลประโยชน์ร่วมกันจึงควรนํากระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้ควบคู่กับกระบวนการยุติธรรมทางอาญากระแสหลักโดยไม่จํากัด การนํามาใช้อยู่แต่เพียงความผิดอาญาอันยอมความได้เท่านั้นแต่ให้ สามารถนํามาใช้กับความผิดฐานทําร้ายร่างกายได้ด้วย แต่ไม่รวมถึงความผิดฐานทําร้ายร่างกายเป็นเหตุ ให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส สิ่งสําคัญเพื่อเป็นการตอบสนองต่อการให้โอกาสผู้กระทําความผิด ลดความ ขัดแย้ง ความโกรธแค้นกัน โดยไม่ต้องคํานึงถึงการลงโทษจําคุกแต่เพียงอย่างเดียวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความผิด (กฎหมาย)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์th_TH
dc.titleกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กับความผิดฐานทำร้ายร่างกายตามมาตรา 295th_TH
dc.title.alternativeRestorative justice with criminal liability of bodily harm offenceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study, the “Restorative Justice with Criminal Liability of bodily harm offence”, is to purpose the study of concepts and theories about Criminal Liability, Criminal Justice System and Restorative Justice. The research clarifies the Criminal Liability of bodily harm offence in Criminal Justice System. Furthermore, it demonstrates standard form, method and suitability of the Restorative Justice to apply to bodily harm offender in order to analyze the result of this concept. This qualitative research is derived from documentary research by studying, analyzing and evaluating for further recommendations from various documents such as thesis, text books, legal documents, legal provisions, legal researches and articles and information from internet network. The consequence of the research is found out that the Restorative Justice is an alternative measure of the Mainstream Criminal Justice System. There are numerous advantages from this measure. For example, it helps to deviate the cases, to reduce the amount of cases to the Courts, to save time and resources, to remedy and to make injured person satisfy with rapid restoration. Also, there is no record for the offenders which mean it makes mutual benefit for all parties. Thus, the Restorative Justice should be bring to use with the Mainstream Criminal Justice System not only in compoundable offences but also in bodily harm offence, except bodily harm offence causing the other person to receive grievous bodily harm. The significant matters are to give an opportunity to the offenders and to lessen any conflict or indignation between the litigants.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_149995.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons