Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8701
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสังวรณ์ งัดกระโทก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนลินี ณ นคร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอีซา หอมหวน, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-10T01:29:15Z-
dc.date.available2023-08-10T01:29:15Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8701-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินผลกระทบของการเรียนพิเศษต่อมูลค่าเพิ่มและ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา และเพื่อเปรียบเทียบขนาดผลกระทบของการเรียนพิเศษ คุณภาพของครูและคุณภาพของผู้บริหารสถานศึกษาต่อมูลค่าเพิ่มและความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 119 โรงเรียน และมีนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 1,383 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้น ตัวแปรที่ศึกษาประกอบด้วยตัวแปรอิสระ คือ การเรียนพิเศษของนักเรียน คุณภาพของครู และผู้บริหารสถานศึกษาที่ได้มาจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสองของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) และตัวแปรตาม คือ มูลค่าเพิ่มทางการศึกษาและความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของคะแนนสอบจากแบบทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามภูมิหลังและการเรียนพิเศษของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบ การวิเคราะห์พหุระดับ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า การเรียนพิเศษของนักเรียนมีผลกระทบทางบวกต่อมูลค่าเพิ่มและความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนคุณภาพของครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา ไม่มีผลต่อมูลค่าเพิ่มและความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของโรงเรียน ผลจากการวิจัยสรุปได้ว่า การเรียนพิเศษของนักเรียนอาจทำให้การประเมินคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนที่วัดจากคะแนนสอบบิดเบือนและไม่ชัดเจน งานวิจัยนี้ได้นำเสนอแนวทางเกี่ยวกับการประเมินโรงเรียนและครูให้มีคุณภาพมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการสอนเสริมth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.titleการวิเคราะห์ผลกระทบของการเรียนพิเศษต่อมูลค่าเพิ่มและความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายth_TH
dc.title.alternativeImpact analysis of cram school's effects on educational value-added outcomes and educational inequality in science study at the upper secondary levelth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to (1) assess the impact of students’ attendance in cram schools on value-added educational outcomes and educational inequality; (2) compare the magnitude of effects of students’ attendance in cram schools, and quality of teachers and quality of school administrators on educational inequality and educational value-added science scores of Mathayom Suksa VI students. The research sample consisted of 119 schools under the Office of the Basic Education Commission containing 1,383 Mathayom Suksa VI students in the 2012 academic year. The schools were obtained by stratified random sampling. The independent variables included the amount of times students attended cram schools, and teacher and school administrator qualities obtained from the 2nd external quality assessment conducted by the Office for National Education Standards and Quality Assessment (ONESQA). The dependent variables were the school’s value-added educational outcome index and educational inequality index. The employed research instrument was a student questionnaire intended to collect information on the student’s background, cram school attendance, and O-NET test score. Data were analyzed using the mean, standard deviation, factor analysis, multilevel analysis, and multiple regression analysis. It was found that students’ attendance in cram schools had positive impacts on both school’s value-added educational outcome and educational inequality, which were statistically significant at the .05 level. However, the quality of teachers and school administrators did not have a significant impact on school’s value-added educational outcome and educational inequality. Therefore, it was concluded that students’ cram school attendance might blur and distort the school quality as assessed by test scores. This research also discussed policy implications for more effective school and teacher assessmentsen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140070.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons