Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/870
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสนีย์ คำสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorฐปนรรต พรหมอินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกันต์กมล ไชยราช, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-22T01:31:33Z-
dc.date.available2022-08-22T01:31:33Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/870-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ผู้นำท้องถิ่นและลักษณะของผู้นำท้องถิ่นในชุมชนเขตอำเภอพิบูลย์รักษ์ จังหวัดอุดรธานี (2) วิธีการที่ผู้นำท้องถิ่นใช้ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชนเขตอำภอพิบูลย์รักษ์ จังหวัดอุดรธานี (3) ความสัมพันธ์ของลักษณะของผู้นำท้องถิ่นกับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชน ผู้นำท้องถิ่น และผู้ที่มีความขัคแย้งจำนวน 563 คน โดยกลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น ประชาชนทั่วไป จำนวน 393 คน กลุ่มผู้นำท้องถิ่น จำนวน 158 คน และผู้ที่มีความขัดแย้ง จำนวน 12 คน ข้อมูลเชิงคุณภาพ เครื่องมึอที่ใช้ในการเก็บรวบรวม คือ แบบสัมภาษณ์และการสังเกตใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและนำเสนอข้อมูลเชิงพรรณนาส่วนข้อมูลเชิง ปริมาณใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์โดยใช้ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาและ ไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้นำท้องถิ่นส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ดำรงตำแหน่งสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล มีการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า มีรายได้ต่อเดือนส่วนใหญ่อยู่ที่ 5,000 บาทหรือตํ่ากว่าลักษณะของผู้นำท้องถิ่นที่สำคัญในการได้รับการยอมรับให้เป็นผู้นำท้องถิ่น คือ เป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีดี มีพฤติกรรมที่เหมาะสม เป็นที่ยอมรับของคนทั่วไป (2) วิธีการของผู้นำในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่ประชาชนให้ความสำคัญที่สุด คือ การประนีประนอม (3) ลักษณะของผู้นำท้องถิ่นมีความสัมพันธ์กับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผู้นำชุมชน -- ไทย -- อุดรธานีth_TH
dc.subjectความขัดแย้งทางสังคม -- ไทย -- อุดรธานีth_TH
dc.subjectการบริหารความขัดแย้ง -- ไทย -- อุดรธานีth_TH
dc.titleผู้นำท้องถิ่นในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน : กรณีศึกษาอำเภอพิบูลย์รักษ์ จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeLocal leaders and community conflict resolution : a case study of Phibun Rak District, Udon Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study: (1) the local leaders and their characteristics in Phibun Rak District, Udon Thani Province; (2) the methods local leaders used in resolving conflicts in the community in Phibun Rak District, UdonThani Province; and (3) the relationship between local leaders’characteristics and conflict resolution. The sample population consisted of 563 residents of Phibun Rak District, Udon Thani Province, including 393 who were ordinary citizens, 158 local leaders, and 12 who had conflicts. Qualitative data were collected using interview forms and observation. Qualitative data were analyzed by using content analysis and descriptively presented. Quantitative data were collected using questionnaires and analyzed statistically using percentages, means, standard deviation and Chi square. The results showed that (1) the majority of local leaders were male, were members of a Tambol Administrative Organization, were educated to the level of secondary school or equivalent, and had monthly incomes of 5,000 baht or less. The characteristics that made them accepted as local leaders were a friendly personality, appropriate behavior, and broad social acceptance. (2) The major conflict resolution method employed by the local leaders was compromise. (3) The characteristics of the local leaders were related to their resolution of community conflicts to a statistically significant degree at the level of 0.05en_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib108604.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons