Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8722
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวริศรา ติคำ, 2514- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-10T04:07:34Z-
dc.date.available2023-08-10T04:07:34Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8722en_US
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวที่เน้นกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์เพื่อพัฒนาการปรับตัวทางสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอนุบาลหนองป่าครั่ง ประชากรคือ นักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนอนุบาลหนองป่าครั่ง จำนวน 62 คน กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนอนุบาลหนองป่าครั่ง จำนวน 30 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้การศึกษาประกอบด้วย (1) แบบสอบถามการปรับตัวทางสังคม (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวที่เน้นกิจกรรม กลุ่มสัมพันธ์เพื่อพัฒนาการปรับตัวทางสังคม มี 5 ด้าน ประกอบด้วย (ก) ด้านการเข้าใจตนเองและผู้อื่น (ข) ด้านการสร้างสัมพันธภาพผู้อื่น (ค) ด้านการจัดการความขัดแย้งระหว่างบุคคล (ง) ด้านการทำงานร่วมกับผู้อื่น และ (3) ด้านการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาปรากฏว่า (1) การปรับตัวทางสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอนุบาลหนองป่าครั่ง ทั้งโดยรวมและรายด้านคือ ด้านการเข้าใจตนเองและผู้อื่น ด้านการสร้างสัมพันธภาพ ด้านการจัดการความขัดแย้งระหว่างบุคคล ด้านการทำงานร่วมกับผู้อื่น และด้านการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข พบว่าอยู่ในระดับมาก และ (2) การปรับตัวทางสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการปรับตัวทางสังคม เพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .01.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการปรับตัวทางสังคมth_TH
dc.subjectการแนะแนวการศึกษาth_TH
dc.subjectกลุ่มสัมพันธ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวที่เน้นกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์เพื่อพัฒนาการปรับตัวทางสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอนุบาลหนองป่าครั่ง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package emphasizing group activities to develop social adjustment of Mathayom Suksa I students of Anuban Nog Pakhrang School in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of using a guidance activity package emphasizing group activities to develop social adjustment of Mathayom Suksa I students of Anuban Nong Pakrang School in Chiang Mai province. The research population comprised 62 Mathayom Suksa I students studying in the academic year 2019 at Anuban Nong Pa Khrang School in Chiang Mai province. The research sample consisted of 30 Mathayom Suksa I students studying in the academic year 2019 at Anuban Nong Pa Khrang School in Chiang Mai province, obtained by cluster random sampling. The research instruments comprised (1) a questionnaire on social adaptation; and (2) a guidance activities package emphasizing group activities to develop social adjustment which consisted of five aspects: (a) self-understanding and understanding of the others, (b) creation of relationship with the others, (c) management of interpersonal conflicts, (d) working with the others, and (e) living together happily. Statistics used for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The results of the study revealed that (1) the overall and specific aspects of social adjustment of Mathayom Suksa I students of Anuban Nong Pa Khrang School were rated at the high level; the specific aspects of social adjustment were the following: self-understanding and understanding of the others, creation of relationship with the others, management of interpersonal conflicts, working with the others, and living together happily; and (2) after participating in guidance activities to develop social adjustment, Mathayom Suksa I students’ level of social adjustment increased significantly at the .01 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_165730.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons