Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8728
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุธีรัชต์ ทิพย์อักษร, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-10T04:19:27Z-
dc.date.available2023-08-10T04:19:27Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8728en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความต้องการรูปแบบการเรียนการสอนผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาการเขียนโปรแกรมภาษา ของครูผู้สอนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 32 (2) สร้างรูปแบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาการเขียน โปรแกรมภาษาของครูผู้สอน และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อรูปแบบการเรียนการ สอนที่สร้างขึ้นของครูผู้สอน การวิจัยครั้งนี้เก็บข้อมูลจากประชากรที่เป็นครูผู้สอน วิชาการเขียนโปรแกรมภาษา สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 จ านวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามความต้องการรูปแบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และแบบประเมิน รูปแบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ครูผู้สอนมีความต้องการรูปแบบการเรียนการสอนผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชา การเขียนโปรแกรมภาษา ในระดับมากที่สุด (2) รูปแบบการเรียนการสอน ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาการเขียนโปรแกรมภาษาประกอบด้วย 8 ขั้นตอน คือ ขั้นทบทวน ความรู้เดิม ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่ ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขั้นบันทึกองค์ความรู้ใหม่ ขั้นฝึกปฏิบัติการ เขียนโปรแกรม นำเสนอผลงาน ขั้นสรุปผล และขั้นวัดและประเมินผล และ (3) ผลการประเมิน รูปแบบการเรียนการสอนโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า โดยภาพรวมผลการประเมินอยู่ในระดับเหมาะสม มากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์--การเรียนการสอนผ่านเว็บth_TH
dc.subjectครู--ความต้องการการฝึกอบรมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleความต้องการการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาของครูผู้สอนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32th_TH
dc.title.alternativeThe needs of web based instruction for programming course for teachers under the Secondary Education Service Area Office 32en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to investigate the needs for webbased instruction model in the Language Programming Course of teachers under the Secondary Education Service Area Office 32. Data for this study were collected from the population of 50 teachers teaching the Language Programming Course in schools under the Secondary Education Service Area Office 32. The employed research instrument was a questionnaire on the needs for web-based instruction model in the Language Programming Course. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that (1) the teachers had the needs at the high level for web-based instruction model in the Language Programming Course; (2) the developed web-based instruction model in the Language Programming Course comprised the following steps: the reviewing of previous knowledge step, the searching for new knowledge step, the sharing of learning step, the recording of new knowledge step, the practice on program writing step, the program presentation step, the conclusion step, and the measurement and evaluation step; and (3) results of the model evaluation by the experts showed that the developed model as a whole was appropriate at the highest level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_148526.pdfเอกสารฉบับเต็ม26.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons