Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8744
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ | th_TH |
dc.contributor.author | สุวิชา ปัญญาไข, 2517- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-10T06:57:08Z | - |
dc.date.available | 2023-08-10T06:57:08Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8744 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความต้องการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการเรียน การสอนของอาจารย์และนักศึกษาสังกัดสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกระบี่ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คืออาจารย์ จํานวน 49 คน และกลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษา ระดับ ปริญญาตรีสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกระบี่ ที่กำลังศึกษาในภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2559 จํานวน 286คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสอบถามความ ต้องการใช้สื่อสังคม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏวา ่ อาจารย์และนักศึกษามีความต้องการใช้สื่อสังคมออนไลน์โดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้านโดยข้อที่ได้รับ ค่าเฉลี่ยสูงสุดในแต่ละด้านได้แก่ (1) เป้ าหมายของใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนการสอนคือ อาจารย์มี เป้ าหมายเพื่อเป็ นเครื่องมือในการสนับสนุนในการเรี ยนรู้และเพื่อพัฒนาการใช้สื่อสังคม และ นักศึกษามีเป้ าหมายเพื่อพัฒนาการใช้สื่อสังคม (2) ประเภทของการใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนการ สอนคือ อาจารย์และนักศึกษามีการใช้สื่อสังคมประเภทการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูล ด้วยเฟซบุ๊ก (3) ลักษณะของใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนการสอน พบวา อาจารย์มีลักษณะการใช้สื่อ ่ สังคมในลักษณะสามารถจัดการเนื้อหาการเรียนการสอนได้ และนักศึกษามีลักษณะการใช้สื่อสังคม ในลักษณะสามารถเรียนรู้เพิ่มเติมย้อนหลังภายนอกห้องเรี ยนได้ และ (4) ความต้องการการ สนับสนุนการใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนการสอนจากสถานศึกษาคืออาจารย์มีความต้องการได้รับ บริการของเจ้าหน้าที่ประจําศูนย์ให้คําปรึกษา และนักศึกษามีความต้องการได้รับการสนับสนุนจาก สถานศึกษา อาจารย์และบุคคลรอบข้าง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.subject | สื่อสังคมออนไลน์--การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.title | ความต้องการใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนการสอนของอาจารย์และนักศึกษาสังกัดสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกระบี่ | th_TH |
dc.title.alternative | Needs for using social media in instruction of instructors of and students of institute of physical education, Krabi Campus | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was to study the needs for using social media in instruction of instructors and students of Institute of Physical Education, Krabi Campus. The research population comprised 49 instructors, and the research sample consisted of 286 students of the Institute of Physical Education, Krabi Campus, during the first semester of the 2016 academic year, obtained by cluster sampling. The employed research instrument was a questionnaire on the needs for using social media. Statistics used for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. The findings showed that the overall needs of the instructors and students were at the high level. When specific aspects of the needs were considered, it was found that the need in every aspect was at the high level, with the item receiving the highest rating mean for each aspect being as follows: (1) in the aspect of the goal for using the social media in instruction, the instructors had the goal of using the social media to support learning and to develop the social media usage, while the students had the goal of social media usage development; (2) in the aspect of types of social media being used in instruction, the instructors and students used Facebook for communication and sharing of knowledge; (3) in the aspect of characteristics of using the social media in instruction, the instructors used social media to enable them to manage their instruction, while the students used social media to enable them to have additional learning outside the classroom; and (4) in the aspect of the need for getting supports from the school for using social media in instruction, the instructors had the need for the advices and services from the social media service center, while the students had the needs for the supports from the school, instructors and surrounding people. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_153562.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License