Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8752
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปภาวดี มนตรีวัต | th_TH |
dc.contributor.author | วีณา อยู่นาน, 2517- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-10T07:28:51Z | - |
dc.date.available | 2023-08-10T07:28:51Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8752 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักงานเลขาธิการ วุฒิสภา จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เสนอแนะแนวทางเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ที่ดำรงตำแหน่งวิทยากรและนิติกร ในสังกัดสำนักวิชาการ สำนักกำกับและตรวจสอบ สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักกรรมาธิการ 2 และสำนักกรรมาธิการ 3 จำนวนทั้งสิ้น 241 คน กลุ่มตัวอย่าง 150 คน คำนวณจากสูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ ใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีและ ค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) บุคลากรสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา มีระดับความผูกพันต่อ องค์การในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ผลการเปรียบเทียบพบว่า ผู้ที่มีอัตราเงินเดือนแตกต่างกันมีระดับความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไม่แตกต่าง (3) แนวทางการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การ ได้แก่ ผู้บริหารทุกระดับควรสร้างขวัญกำลังใจ และจัดสวัสดิการให้บุคลากรอย่างเหมาะสม เป็นธรรม ควรกำหนดนโยบายที่ส่งเสริมสนับสนุน ความก้าวหน้าของข้าราชการอย่างชัดเจนโปร่งใส และเป็นธรรม และควรมีการหมุนเวียนสับเปลี่ยนงาน เพื่อส่งเสริมทั้งการเรียนรู้ของบุคลากร และการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา | th_TH |
dc.subject | ความผูกพันต่อองค์การ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา | th_TH |
dc.title.alternative | Organizational commitment of Officials of the Secretariat of the Senate | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to (1) study organizational commitment level of officials of the Secretariat of the Senate; (2) compare organizational commitment of officials of the Secretariat of the Senate by personal factors; (3) study the guidelines to enhance organizational commitment of officials of the Secretariat of the Senate. Population consisted of 241 officials of the Secretariat of the Senate who were in lecturer and lawyer positions in Department of Education, Supervision and Examination Department, the Commissioner 1, the commissioner 2 and the Commissioner 3, from which 150 samples were drawn via Taro Yamane calculation. Accidental sampling method was applied. Instrument used was questionnaire. Descriptive statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test. The findings of the study were as follows: (1) the overall organizational commitment of the officials of the Secretariat of the Senate was at high level; (2) officials with different monthly income had different level of organizational commitment with 0.05 level of statistical significance and (3) guidelines to enhance organizational commitment were : management at all levels should strengthen officials morale while at the same time provide appropriate and fair welfare, policies supporting the officials advancement should be formulated, in clear, transparent and fair manner; job rotation should be arranged so to enhance both officials and organizational learning. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_135746.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License