กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8755
ชื่อเรื่อง: ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทคาลโซนิคคันเซประเทศไทยจำกัด
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Factors affecting work motivation of employees in Calsonic Kansei (Thailand) Co,.ltd.
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ, อาจารย์ที่ปรึกษา
สุรศักดิ์ ภาษิต, 2518-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
การจูงใจในการทำงาน
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
วันที่เผยแพร่: 2551
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของ พนักงานฯ (2) เปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานฯ (3) เสนอแนะ แนวทางในการปรับปรุงหรือแก้ไขถึงปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการทำงานเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ ในการทำงานของพนักงาน บริษัทคาลโซนิคคันเซประเทศไทยจำกัด กลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานบริษัทคาลโซนิคกันเซประเทศไทยจำกัดจำนวน 264 ตัวอย่าง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ใช้แบบสอบถามแบบมีมาตรวัดเป็นเครื่องมือการวิจัย สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ก่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานโดยใช้ การแจกแจงแบบที และการวิเคราะห์ความเปรปรวนทางเดียว กำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติเท่ากับ 0.05 โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า (1) พนักงานบริษัทคาลโซนิคกันเซประเทศไทยจำกัดมีระดับแรงจูงใจ ในการทำงานอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.44 (2) ปัจจัยลักษณะทางค้านบุคคล อันได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน ตำแหน่ง มีปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของพนักงาน แตกต่างกัน ปัจจัยส่วนบุคคลค้าน สถานภาพการสมรส หน่วยงานที่สังกัด ประเภทการผลิตชิ้นส่วน มีปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของพนักงาน ไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อศึกษารายค้านพบว่า ปัจจัยด้าน ตัวงาน ด้านโอกาสก้าวหน้า ค้านผู้บังกับบัญชา ด้านผู้ร่วมงาน และด้านสภาพการทำงาน เพศชายมี แรงจูงใจมากกว่าเพศหญิง ผู้ที่มีสถานภาพสมรส มีแรงจูงใจมากกว่าผู้ที่มีสถานภาพ โสค และตัวอย่าง ที่มีตำแหน่งระดับบริหาร มีแรงจูงใจในการทำงานค้านผลประ โยชน์ตอบแทน สูงกว่าทุกระดับ (3) บริษัทฯควรแก้ไขและปรับปรุงปัจจัยค้านผลประ โยชน์ตอบแทน ซึ่งเป็นด้านที่มีแรงจูงใจในการ ทำงานต่ำที่สุดใน 6 ค้าน โดยกวรปรับปรุงกฎเกณฑ์การขึ้นเงินเดือนให้เหมาะสมและยุติธรรม อีกทั้ง การปรับปรุงสวัสดิการต่างๆ ให้เหมาะสมกับตำแหน่งและงานที่ทำด้วย
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8755
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
127186.pdf3.6 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons