Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8777
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนมพัทธ์ สมิตานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเฉลี่ย อุปภา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-11T03:15:39Z-
dc.date.available2023-08-11T03:15:39Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8777-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร สังกัดสํานักบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานของบุคลากรสังกัดสํานักบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (3) เสนอแนะการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรสังกัดสํานักบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ บุคลากรสังกัดสํานักบริการ การศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จํานวน 54 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ วิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์ ผลการศึกษาพบวา่ (1) ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรโดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก ได้แก่ ด้านปริมาณงานมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านเวลา ด้านคุณภาพของงาน และด้านต้นทุน อยู่ในระดับมาก ระดับความสําคัญของปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรโดยสรุป ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ปัจจัยจูงใจด้านผลสําเร็จในการปฏิบัติงาน มีผล ต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร อยู่ในระดับมากที่สุด (2) ปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมมี ความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1โดยมีความสัมพันธ์กันใน ระดับสูง (3) ข้อเสนอแนะในการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร ได้แก่ ผู้บริหารควรให้ ความสําคัญในปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานทุกด้าน ต้องการให้ส่งเสริมบุคลากรทุกระดับได้มีโอกาสพัฒนา ความรู้ ความสามารถและทักษะในการปฏิบัติงาน เช่น เข้ารับการอบรม สัมมนาในด้านต่างๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากรให้สูงมากยิ่งขึ้น ให้จัดบุคลากรปฏิบัติงานที่ตรงกับความรู้ ความสามารถและเหมาะสม ให้เพิ่ม ทรัพยากรสารสนเทศสําหรับผู้ใช้และเพิ่มอัตรากำลังบุคลากร ควรมีการประชุม หรือระดมสมองร่วมกันระหว่าง บุคลากรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อตกลง หรือหาวิธีในการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมหรือโครงการ ต่างๆ โดยเน้นการบริหารต้นทุนให้มีประสิทธิภาพสูงสุด และควรมีมาตรการในการลดต้นทุนที่ชัดเจนเป็น รูปธรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สำนักบริการการศึกษา --ข้าราชการและพนักงานth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectประสิทธิภาพ--การประเมินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.subjectการทำงาน--การประเมินth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรสังกัดสำนักบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.title.alternativeFactors relating work efficiency of personnel of Office of Educational Service, Sukhothai Thammathirat Open Universityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) study work efficiency level of the personnel of Office of Educational Services, Sukhothai Thammathirat Open University, (2) study factors relating work efficiency of the personnel of Office of Educational Services, Sukhothai Thammathirat Open Univeresity,(3)suggest an enhancement in work efficiency of personnel of Office of Educational Services, Sukhothai Thammathirat Open University. This study was quantitative research. The population were personnels under Office of Educational Services, Sukhothai Thammathirat Open University total of 54 persons. Questionnaire was used as instrument for data collection and statistics used and for data analysis included Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation Pearson’s Correlation Coefficiency Analysis. The findings indicated as followed: (1) overall, work efficiency of personnel was at high level with workload was at the hithest level of efficiency. Time quality of work, and work capital were at high level. Considering each aspect, Motivator factor of work achievement significantly related to work efficiency of personnel at high level. (2) motivator factor of overall operation was statistically significantly related to work efficiency at 0.1 level in high level; (3) suggestions to enchancement in work efficiency of the personnel were as followed the executive should give precedence to factors relating operations in all aspects under requirement of personnel encouragement at all levels in order to have the opportunity of increasing work knowledge, competency and skill development, such as participation in training and seminar in various areas for development of personnel with high potentials, arrangement of personnel to work in consistency with their knowledge, competency and suitability, increasing in information resources for users, and personnel manpower. Additinally, meeting or brainstorming should be held among personnel or relevant work units in order to make the agreement or find method for reduction of activity or project arrangement cost or expense under emphasis on optimum effective cost management whereas there should be clear and concrete measure of cost reductionen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154725.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons