Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/878
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษา-
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษา-
dc.contributor.advisorส่งศรี กิตติรักษ์ตระกูล, อาจารย์ที่ปรึกษา-
dc.contributor.authorกัญญารัตน์ อินใจ, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-22T17:01:57Z-
dc.date.available2022-08-22T17:01:57Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/878-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเซิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนกิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วย ในโดยศึกษาต้นทุนกิจกรรมพยาบาล 4 ด้านคึอ ด้านบริการพยาบาล ด้านบริหารการพยาบาล ด้านสนับสนุน บริการ ด้านพัฒนาคุณภาพบริการ ประชากรในการวิจัยคือ กิจกรรมการพยาบาลทั้งหมดที่ปฏิบัติ ผู้ให้ข้อมูลคือ พยาบาลวิชาชีพ เครื่องมือที่ใชัในการวิจัยประกอบด้วย พจนานุกรมกิจกรรมการพยาบาล แบบฟอร์มบันทึกข้อมูลจำนวน 10 แบบ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนี้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าความเที่ยงของการสังเกตุเท่ากับ.95 และนาฬิกาจับเวลา วิธีการดำเนินการวิจัยคือสร้างเครื่องมือพจนานุกรมกิจกรรมพยาบาลและแบบบันทึกข้อมูลทำการเก็บข้อมูลโดยการสังเกตจับเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมพยาบาลเพื่อหาต้นทุนค่าแรง จากนั้นเก็บรวบรวมข้อมูลต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นทั้งทางตรงและทางอ้อม รวมเป็นต้นทุนรวม (Full cost) หาปริมาณกิจกรรมพยาบาลทั้งหมด แล้วนำมาคำนวณเป็นต้นทุนต่อหนึ่งหน่วยกิจกรรม ผลการศึกษาพบว่า ต้นทุนรวมทั้งหมด ในกิจกรรม 4 ด้านเท่ากับ 7,027,259.97 บาท คิดเป็นสัดส่วนต้นทุนค่าแรง : ค่าลงทุน : ค่าวัสคุ : ต้นทุนปันส่วนเท่ากับ 41.93 : 40.69 : 9.08 : 8.30 กิจกรรมด้านบริการพยาบาล มีต้นทุนรวมเท่ากับ 5,979,682.71 บาทต่อ 4,031 จำนวนผู้ป่วย คิดเป็นรัอบละ 84.91 ของต้นทุนทั้งหมด ต้นทุนต่อกิจกรรมที่สูงสุดคือการช่วยฟื้นคืนชีพเท่ากับ 1,495.56 บาทต่อราย ต้นทุนต่อกิจกรรมตํ่าสุดคือ การปฐมนิเทศผู้ป่วย เท่ากับ 10.09 บาทต่อครั้ง กิจกรรมด้านบริหาร มีต้นทุนรวมเท่ากับ 548,408.95 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.89 ของต้นทุนทั้งหมด ต้นทุนต่อกิจกรรมที่สูงสุดคือ การจัดอัตรากำลังเท่ากับ 145.90 บาทต่อครั้ง ต้นทุนต่อกิจกรรมต่ำสุดคือ การตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการเท่ากับ 1.28 บาทต่อครั้ง กิจกรรมด้านสนับสนุนบริการ มีต้นทุนรวมเท่ากับ 259,365.88 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.89 ของต้นทุนทั้งหมด ต้นทุนต่อกิจกรรมที่สุงสุดคือการจัดทำแบบฟอร์มเท่ากับ 30.60 บาทต่อครั้ง ต้นทุนต่อกิจกรรมตํ่าสุดคือ การบันทึก OPD card ผู้ป่วยก่อน ส่งคืนเท่ากับ 1.59 บาทต่อราย กิจกรรมด้านพัฒนาคุณภาพบริการ มีต้นทุนรวมเท่ากับ 239,802.43 บาท คิด เป็นรัอยละ 3.41 ของต้นทุนทั้งหมด ต้นทุนต่อกิจกรรมที่สูงสุดคือ การประชุมอบรม เท่ากับ 2,309.83 บาทต่อ ครั้ง ต้นทุนต่อกิจกรรมตํ่าสุดคือการลงบันทึกสัญญาณชีพลงฟอร์มปรอทเท่ากับ 12.27 บาทต่อครั้ง ซึ่งผล การศึกษาใชัในการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรของโรงพยาบาล ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.format.extent[ก]-ญ, 246 แผ่น : ภาพประกอบ-
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาล--ต้นทุนและประสิทธิผลth_TH
dc.subjectการบัญชีต้นทุนกิจกรรมth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาล--ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วยในโรงพยาบาลสูงเม่นth_TH
dc.title.alternativeCost analysis of nursing service activities in the Inpatient Department at Sung Men Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.degree.grantorสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์-
dc.description.abstractalternativeThe Purpose of this descriptive research was to investigate the cost of nursing service activities which were divided into four categories: nursing services, nursing management, supporting services, and service quality development in the Inpatient Department at Sung Men Hospital. The research population comprised all nursing activities undertaken in the hospital. Informants were registered nurses. Research instruments were a list of nursing activities ten data recording forms, and a timer. The first two instruments were developed by the researcher and were tested for content validity and reliability The observed reliability coefficient was.95.To collect data (1) all nursing activities were observed and then timed. (2) Data observed and times were calculated for labor cost. (3) Costs both direct and indirect of these activities were indentified. (4) These three costs (labor, direct, and indirect) were summed to obtain full cost. (5) The number of all nursing activities was counted Finally, (6) the full cost was divided by the number of all nursing activities to find the cost for each activity. The research findings were as follows. (l)The total cost of nursing activities was 7,027 ,259.97 baht. The ratios of these four costs (labor cost: capital cost: material cost: shared cost) were 41.93 ะ 40.69 ะ 40.69 ะ 9.08 ะ 8.30 respectively. (2) The full cost for the nursing service was 5,979,682.71 baht (84.91 percent of the total cost). The activity whose cost was highest was resuscitation (1,495.56 baht) while the activity whose cost was lowest was patient orientation (10.09 baht). (3) The full cost for nursing management was 548,408.95 baht (7.79 percent of the total cost). The activity whose cost was highest was staff arrangement (145.90 baht) whereas the activity whose cost was lowest was obtaining laboratory test results (1.28 baht) .(4)The full cost for the supporting service was 259,365.88 baht (3.89 percent of the total cost). The activity whose cost was highest was form production (30.60 baht) while the activity whose cost was lowest was OPD card record before returning (1.59 baht). (5)The full cost for the service quality development was 239,802.43 baht (3.41 percent of the total cost). The activity whose cost was highest was training or meeting (2,309.83 baht) whereas the activity whose cost was lowest was record the vital signs on the patient files (12.72 baht). The explicit results of this study were, therefore, very crucial for the hospital in terms of both quality service and resource management systemen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
102153.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons