Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8790
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภาวิตา ทับบุรี 2533- ผู้แต่ง.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-11T04:42:21Z-
dc.date.available2023-08-11T04:42:21Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8790en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาหนังสือเรียนโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่องภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากหนังสือเรียนโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่องภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสือเรียนโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่องภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่กาลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 50 คน ที่โรงเรียนสตรีอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ได้แก่ (1) หนังสือเรียนโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่องภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสือเรียนโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม เรื่องภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) หนังสือเรียนโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่องภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพ 80.93/81.70 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยหนังสือเรียนโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่องภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อหนังสือเรียนโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมเรื่องภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ ในระดับมากที่สุด.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสังคมศาสตร์--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleการพัฒนาหนังสือเรียนโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสตรีอ่างทอง จังหวัดอ่างทองth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of lessons with the use of supplementary reality technology in the social studies, religion and culture learning area on the topic of geography of North America Continent for Mathayom Suksa III students of Satri Ang Thong School in Ang Thong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop lessons with the use of supplementary reality technology in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area on the topic of Geography of North America Continent for Mathayom Suksa III students; (2) to study the learning progress of students who learned from the lessons with the use of supplementary reality technology in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area on the topic of Geography of North America Continent; and (3) to study the students’ satisfaction with the lessons with the use of supplementary reality technology in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area on the topic of Geography of North America Continent. The research sample consisted of 50 Mathayom Suksa III students studying in the second semester of the 2019 academic year at Satri Ang Thong School in Ang Thong province, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments were (1) the lessons with the use of supplementary reality technology in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area on the topic of Geography of North America Continent for Mathayom Suksa III students; (2) two parallel forms of a learning achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire on student’s satisfaction with the lessons with the use of supplementary reality technology on the topic of Geography of North America Continent. Statistics employed for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the developed lessons with the use of supplementary reality technology in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area on the topic of Geography of North America Continent for Mathayom Suksa III students were efficient at 80.93/81.70, thus meeting the set 80/80 efficiency criterion; (2) the students who learned from the lessons with the use of supplementary reality technology in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area on the topic of Geography of North America Continent achieved learning progress significantly at the .05 level; and (3) the students were satisfied with the lessons with the use of supplementary reality technology on the topic of Geography of North America Continent at the highest level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_166510.pdf25.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons