Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8797
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีย์ เข็มทองth_TH
dc.contributor.authorณชลนิภา ทวีรัตน์, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-11T07:00:37Z-
dc.date.available2023-08-11T07:00:37Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8797en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการรับรู้ภาพลักษณ์ “สเวนเซ่นส์” ของลูกค้าวัยรุ่น อำเภอเกาะสมุย (2) พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์ภายใต้ตราสินค้า“สเวนเซ่นส์” ของลูกค้าวัยรุ่น อำเภอเกาะสมุย (3) ปัจจัยส่วนบุคคลของลูกค้าวัยรุ่น อำเภอเกาะสมุย ที่มี ความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ภาพลักษณ์ของ “สเวนเซ่นส์” ประชากรคือ ลูกค้าวัยรุ่นที่เข้ามาบริโภคผลิตภัณฑ์ภายใต้ตราสินค้า “สเวนเซ่นส์” อำเภอเกาะสมุย จำนวนทงสน 6,381 คน ณ เดือนมกราคม พ.ศ. 2556 กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ได้จำนวน 380 คน โดยใช้วิธีการคำนวณและสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1)การรับรู้ภาพลักษณ์“สเวนเซ่นส์” ของลูกค้าวัยรุ่นผู้ตอบแบบสอบถาม อำเภอเกาะสมุย โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ภาพลักษณ์ด้านตราสินค้ามีความสำคัญมากที่สุด และรองลงมา คือภาพลักษณ์ด้านผลิตภัณฑ์ (2) พฤติกรรมการบริโภคของลูกค้าวัยรุ่นส่วนใหญ่พบว่า มาใช้บริการที่ร้านสเวนเซ่นส์ ประมาณ 2-3 ครั้ง ต่อเดือนโดยแต่ละครั้งพบว่า นิยมบริโภคประเภทไอศกรีมที่ตกแต่งแล้ว และมีในเมนูของร้าน มีค่าใช้จ่าย ในการบริโภคต่อครั้งคิดเป็นจำนวนเงินประมาณ 100 - 300บาท ซึ่งผู้ร่วมบริโภคส่วนใหญ่เป็นเพื่อน ช่วงเวลาที่เข้ามาใช้บริการส่วนใหญ่พบว่า เป็นวันหยุดประจำสัปดาห์ในช่วงเวลาหลังเที่ยง ส่วนใหญ่ เดินทางมาใช้บริการด้วยรถส่วนตัวและ (3) ปัจจัยส่วนบุคคลของลูกค้าวัยรุ่นที่เกี่ยวกับ เพศอายุอาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนพบว่า มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ภาพลักษณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสเวนเซ่นส์th_TH
dc.subjectความพอใจของผู้บริโภค--ไทย--สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleการรับรู้ภาพลักษณ์ของ "สเวนเซ่นส์" ในมุมมองของลูกค้าวัยรุ่น อำเภอเกาะสมุยth_TH
dc.title.alternativePerceptions of "Swensen" Image by teen's customers perspective in Koh Samui Districten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the study were to study: (1) the levels of teen-customers’ perceptions towards “Swensen” image in Koh Samui district; (2) to examine teen-customers’ behaviors towards “Swensen” products in Koh Samui district; and (3) to investigate the relationship between teens personal factors and their perceptions towards “Swensen” image in Koh Samui district. The number of population for this study was approximately 6,381 teenagers who consumed “Swensen” products in Koh Samui district during January 2012. The sample used in this study was selected by systematic sampling method. From this basis, a total of 380 teen-customers was involved. The data was collected by applying the survey questionnaires. Data were analyzed by statistic tools including frequency, percentage, mean, standard deviation, and Chi-square. The results showed that (1) overall teen-customers’ perceptions who respondents towards “Swensen” image in Koh Samui district was at the high level. Moreover, it was found that the image of “Swensen” brand and “Swensen” product were important, respectively, by the teen-customers perceptions. (2) In terms of teen-consumers behaviors it was found that most teens visited “Swensen” shop two or three times a month and spent 100-300 baht each time on the decorated ice cream listed on a menu. They mostly came with their friends by personal vehicles on holidays in the afternoon. (3) it was found that there was a statistically significant relationship between teen-customers’ personal factors including gender, age, occupation and income and their perceptions towards “Swensen” image at the 0.05 level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
135876.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons