Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/879
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรีนวล สถิตวิทยานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษา | - |
dc.contributor.advisor | อารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษา | - |
dc.contributor.advisor | สุพักตร์ พิบูลย์, อาจารย์ที่ปรึกษา | - |
dc.contributor.author | อาภรณ์ ทองทิพย์, 2505- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-22T17:12:44Z | - |
dc.date.available | 2022-08-22T17:12:44Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/879 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนารูปแบบการบันทึกทางการ พยาบาลที่เน้นกระบวนการพยาบาล งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลขุนตาล จังหวัดเชียงราย และ (2) ศึกษา ประสิทธิภาพของรูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลที่เน้นกระบวนการพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพงานผู้ป่วยใน จำนวน 9 ราย และ แบบบันทึกทางการพยาบาล ของผู้ป่วยใน จำนวน 60 แฟ้ม เป็นบันทึกก่อนทดลอง จำนวน 30 แฟ้ม และแบบบันทึกหลังทดลอง จำนวน 30 แฟ้ม สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใชัในการทดลอง ได้แก่ (1) รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลที่ เน้นกระบวนการพยาบาล และ (2) แบบประเมินความรู้เกี่ยวกับการบันทึกทางการพยาบาลที่เน้น กระบวนการพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่ (1) แบบสำรวจปัญหาและอุปสรรคของการ บันทึกทางการพยาบาท (2) แบบสอบถามความคิดเห็นของพยาบาลเกี่ยวกับความเหมาะสมของรูปแบบการ บันทึกทางการพยาบาล และหาความเชื่อมั่นโดยใช้คำสัมประสิทธิ์ครอนบาคอัลฟาได้เท่ากับ 0.93 (3) แบบ ตรวจสอบคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล และหาความเชื่อมั่นโดยคำนวณหาดัชนีความสอดคล้อง ได้ค่า ความเชี่อมั่นด้านความครอบคลุมตามกระบวนการพยาบาลเท่ากับ 0.84 ด้านความถูกต้องตามกฎหมาย เท่ากับ 0.90 และด้านความต่อเนื่องของการบันทึกเท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพการบันทึกทางการ พยาบาลโดยใช้สถิติทดสอบ ทีอิสระ และวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นของพยาบาลเกี่ยวกับความเหมาะสม ของรูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลโดยหาค่าเฉลี่ยอันดับที่ค่ามัธยฐาน ทดสอบความแตกต่างด้วยสถิติ Wilcoxon matched-pair signed ranks test ผลการวิจัยสรุปได้ด้งนี้ (1) ได้รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลที่เน้นกระบวนการพยาบาล งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลขุนตาลที่มีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย (ก) หลักการบันทึกทางการพยาบาลที่เน้น กระบวนการพยาบาล (ข) วัตถุประสงค์ของรูปแบบการบันทึก (ค) นโยบายและการควบคุมการบันทึกทางการ พยาบาล (ง) การประเมินสมรรถนะการบันทึกทางการพยาบาลและการฝึกอบรม (จ) แนวทางการบันทึกและ แบบบันทึกทางการพยาบาล (2) ค่าเฉลี่ยอันดับที่ค่ามัธยฐาน ของคะแนนความคิดเห็นของพยาบาลเกี่ยวกับ ความเหมาะสมของรูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลหลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 และ (3) ค่าเฉลี่ยคะแนนคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลโดยรวมหลังทดลองสูงกว่าก่อน ทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.format.extent | [ก]-ญ, 148 แผ่น : ภาพประกอบ | - |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บันทึกการพยาบาล | - |
dc.subject | การสื่อสารทางการพยาบาล | - |
dc.subject.classification | Thes พย 1 อ64 2550 | - |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลที่เน้นกระบวนการพยาบาลงานผู้ป่วยในโรงพยาบาลขุนตาล จังหวัดเชียงราย | th_TH |
dc.title.alternative | Development of the nursing documentation model focused on the nursing process of the Inpatient Unit at Khuntan Hospital in Chiang Rai Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | - |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | - |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research and development were: (a) to develop the nursing documentation model focused on the nursing process of the inpatient unit at Khuntan Hospital in Chiang Rai Province; and (b) to evaluate the efficiency of the nursing documentation model. The sample consisted of nine nurses of the inpatient unit and sixty patients’ nursing documentation of which the first thirty were used before and the other thirty were used after the application of the nursing documentation model .These documents were chosen by purposive sampling. The experiment tools were (I) the nursing documentation model which was focused on the nursing process and (2) the test which measured the knowledge of nurses on nursing documentation. The data collection tools were (1) the problem of using nursing documentation form, (2) the opinions of nurses on the appropriateness of the model, and (3) the check list of the quality of nursing documentation. The Cronbach alpha coefficient of the second tool was 0.93. The reliability of the third tool was checked by the Item Objective Congruence (IOC). It was found that the structure reliability according to the nursing process was 0.84, the legal reliability was 0.90, and the continuity reliability was 0.95. Statistical devices used for data analysis were independent t-test and Wilcoxon matched- pair signed ranks test. The former was employed to explore the quality of nursing documentation, while the latter was done to investigate the opinions of nurses on the appropriateness of using the new model. The results of this research showed that the new model was efficient. Moreover, (I) the new model consisted of five components: (a) the principle of nursing documentation focused on the nursing process, (b) the objectives of model, (c) the policy and quality control of nursing documentation, (d)the assessment of staff competency and training of nursing documentation, and (e) the nursing documentation guideline and forms. (2) Nurses expressed the opinion that the new model was more significantly suitable than before (p<.01). Finally, (3) the mean scores of the quality of nursing documentation after the experiment were significantly higher than before conducting the experiment (pc.OI) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
102154.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License