Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8808
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอโณทัย งามวิชัยกิจth_TH
dc.contributor.authorฐิตารีย์ สุภัตต์ฐกุล, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-11T07:56:14Z-
dc.date.available2023-08-11T07:56:14Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8808en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณภาพการให้บริการของธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาบุรีรัมย์และ (2) พฤติกรรมการออมของลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณีการเกษตร สาขาบุรีรัมย์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษาคือ ลูกค้าที่มาใช้บริการฝากเงินกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาบุรีรัมย์ จานวน 40,068 คน ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 397 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณภาพการให้บริการของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตรสาขาบุรีรัมย์ในภาพรวมทั้ง 10มิติ อยู่ในระดับมากโดยเรียงลำดับจากมาไปหาน้อยคือ มิติความปลอดภัย อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา มิติการติดต่อสื่อสาร มิติการเข้าถึงบริการ และ มิติความน่าเชื่อถือ ตามลำดับ และ (2) พฤติกรรมการออมของลูกค้าธนาคารพบว่า ประเภทเงินฝาก ที่ลูกค้าที่ใช้บริการมากที่สุดคือ เงินฝากออมทรัพย์โดยไม่มีการออมในประเภทเงินฝากประจำ 24-60 เดือน ความถี่ในการใช้บริการเงินฝากต่อเดือนไม่แน่นอน โดยฝากเงินกับธนาคารนั้นๆ ใน ระยะเวลา 1-3 ปีช่วงเวลา 08.30 - 10.30 น.ทราบข้อมูลจากเพื่อนและคนรู้จัก ส่วนบริการอื่นๆ ที่ใช้ บริการมากที่สุด คือ ด้านสินเชื่อ ซื้อสลาก ธ.ก.ส./พันธบัตร และแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เป็นต้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาบุรีรัมย์--บริการลูกค้าth_TH
dc.subjectการประหยัดและการออมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleคุณภาพการให้บริการและพฤติกรรมการออมของลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาบุรีรัมย์th_TH
dc.title.alternativeService quality and customers' saving behavior of the bank for agriculture and agricultural cooperatives, Buriram Branchen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study: (1) service quality of Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives, Buriram Branch; and (2) customers’ saving behavior of Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives, Buriram Branch. This study was a survey research. The population of this study was 40,068 customers using depositing service of Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives, Buriram Branch. The sampling group consists of 397 customers obtained by simple random sampling method. Data collection instrument was questionnaire. Statistical techniques used in data analysis were frequency, percentage, mean and, standard deviation. The results revealed that: (1) Quality of Service of Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives the Buriram branch of the 10 dimension overview is at a high level. By the highest quality is secondary security dimension is communication dimension follow by dimension of enthusiasm which is moderate. (2) For the study of customers’ savings behavior, it was found that most customers deposited in saving account and there was no depositing in 24-60 month fixed account. Frequency of monthly depositing was uncertain. Most samples have been the customers of the bank for 1-3 years and most customers made deposit in the period 08.30-10.30 a.m. Source of service information mostly was from friends and acquaintances. Apart from depositing, the other service that customers used most was loan service and the least was online payment service.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153518.pdf12.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons