Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8841
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรวรรณ ศรีไสยเพชร, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-15T03:01:23Z-
dc.date.available2023-08-15T03:01:23Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8841-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา ของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยการเรียนรู้แบบโครงงาน และ (2) เปรียบเทียบผลการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนกลุ่มทดลองหลังการทดลอง กับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยสตูล จังหวัดสตูล ที่มีคะแนนเฉลี่ยจากแบบวัดทักษะการแก้ปัญหาต่าจำนวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยการเรียนรู้แบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และ (2) แบบวัดทักษะการแก้ปัญหา มีความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .70 สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยการเรียนรู้แบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา นักเรียนมีทักษะการแก้ปัญหาสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยการเรียนรู้แบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ นักเรียนกลุ่มทดลอง มีทักษะการแก้ปัญหาไม่แตกต่างกับหลังการทดลองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14456/asj-psu.2016.21en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการแก้ปัญหา -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล จังหวัดสตูลth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package project-based learning to develop problem solving skills to Mathayom Suksa III students at Princess Chulabhorn's College, Satun in Satun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare results of developing problem solving skills of the experimental group students before and after using a guidance activities package with project-based learning; and (2) to compare results of developing problem solving skills of the experimental group students at the completion of the experiment with those in the follow up period. The research sample consisted of 24 Mathayom Suksa III students of Princess Chulabhorn's College, Satun in Satun province, who had low test scores in problem solving skills. The employed research instruments comprised (1) a guidance activities package with project-based learning to develop problem solving skills, and (2) a problem solving skills test with reliability coefficient of .70. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) after the experiment with the use of the guidance activities package with project-based learning, the post-experiment problem solving skills of the students were significantly higher than their pre-experiment counterpart skills at the .05 level; and (2) problem solving skills of the experimental group students at the completion of the experiment were not significantly different from their counterpart skills in the follow up perioden_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
147622.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons