Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8860
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณ์ดี แสงประทีปทอง | th_TH |
dc.contributor.author | ประภาส ฉัตรไชยพรกุล, 2508- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-15T06:42:40Z | - |
dc.date.available | 2023-08-15T06:42:40Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8860 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2557 จำนวน 450 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือวัดความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ที่สร้างขึ้นประกอบด้วยแบบทดสอบ 2 ฉบับคือ ฉบับที่ 1 แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการเลือกและใช้เทคโนโลยี และฉบับที่ 2 แบบทดสอบทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ดัชนีความสอดคล้อง ความยาก อำนาจจำแนก ความเที่ยงโดยใช้สูตรของคูเดอร์และ ริชาร์ดสันที่ 20 และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยปรากฏว่า เครื่องมือวัดความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยแบบทดสอบ 2 ฉบับคือ ฉบับที่ 1 แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการเลือกและใช้เทคโนโลยี เป็นแบบเลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ มีความตรงโดย ดัชนีความสอดคล้อง มีค่าระหว่าง 0.60 ถึง 1.00 ความยากมีค่าระหว่าง 0.36 ถึง 0.76 อำนาจจำแนกมีค่าระหว่าง 0.21 ถึง 0.56 มีค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.88 ฉบับที่ 2 แบบทดสอบทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี แบ่งเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 กระบวนการแก้ปัญหาทางเทคโนโลยี เป็นข้อสอบแบบสถานการณ์ จำนวน 20 ข้อ มีความตรงโดย ดัชนีความสอดคล้อง มีค่าระหว่าง 0.80 ถึง 1.00 ความยาก มีค่าระหว่าง 0.34 ถึง 0.71 อำนาจจำแนก มีค่าระหว่าง 0.21 ถึง 0.56 มีค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.90 และตอนที่ 2 ทักษะปฏิบัติทางเทคโนโลยี เป็น แบบประเมินแบบรูบริค 4 ระดับ จำนวน 10 ข้อ มีความตรงโดย ดัชนีความสอดคล้อง มีค่าเท่ากับ 1.00 ทุกข้อ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.85 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.52 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา-- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เทคโนโลยี--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | เทคโนโลยี--การวัดผล | th_TH |
dc.title | การพัฒนาเครื่องมือวัดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Development of instruments to measure technology literacy of Prathom Suksa VI students in Schools under Bangkok Metropolitan Administration | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research was to develop and verify quality of instruments to measure technology literacy of Prathom Suksa VI students in schools under Bangkok Metropolitan Administration. The research sample consisted of 450 Prathom Suksa VI students in schools under Bangkok Metropolitan Administration, obtained by multi-stage sampling. The developed instruments to measure technology literacy comprised two tests. The first test was a test of knowledge on selection and uses of technology. The second test was a test of process skills in technology. Statistics employed for data analysis were the index of congruence (IOC), difficulty index, discriminating index, KR-20 for reliability, and Pearson’s correlation coefficient. Research findings showed that the developed instruments to measure technology of Prathom Suksa VI students in schools under Bangkok Metropolitan Administration comprised two tests. The first test was a test of knowledge on selection and uses of technology. It was a multiple-choice objective test with four choices containing 20 items. Its item content validities as indicated by the IOCs ranged from 0.60 to 1.00; its item difficulty indices ranged from 0.36 to 0.76; its item discriminating indices ranged from 0.21 to 0.56; and its reliability coefficient was 0.88. The second test was a test of process skills in technology. It was composed of two parts. The first part was a test of technological problem solving process which contained 20 situational items. Its item content validities as indicated by the IOCs ranged from 0.80 to 1.00; its item difficulty indices ranged from 0.34 to 0.71; its item discriminating indices ranged from 0.21 to 0.56; and its reliability coefficient was 0.90. The second part was a test of technological practice skills which was in the form of rubric evaluation containing 10 test items. Each of the 10 test items had content validity of 1.00 as shown by its IOC, and reliability coefficient of the whole part was 0.85. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | รัชนีกุล ภิญโญภานุวัฒน์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
147932.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License