Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8869
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศศิธร กาญจนสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุษบา บุญหมั่น, 2527- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-15T07:36:34Z-
dc.date.available2023-08-15T07:36:34Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8869en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ของโรงเรียนสุเหร่าลาดพร้าวในกรุงเทพมหานคร ในมิติด้านการจัดการเรียนการสอน (2) ประเมินหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ในมิติด้านสถาบัน และ (3) ประเมินหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ในมิติด้านพฤติกรรมการเรียนรู้ ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 1 คน หัวหน้างานฝ่ายวิชาการ จำนวน 1 คน ผู้สอน จำนวน 2 คน ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 61 คน ผู้ปกครอง ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 61 คน และกรรมการสถานศึกษา จำนวน 15 คน ของโรงเรียนสุเหร่าลาดพร้าวในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษาด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านสถาบัน ด้านพฤติกรรมการเรียนรู้แบบสัมภาษณ์ และแบบบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) มิติด้านการจัดการเรียนการสอน ในภาพรวมและรายด้านผ่านเกณฑ์การประเมิน ได้แก่ การจัดชั้นเรียน เนื้อหาวิชา วิธีการ และสิ่งอำนวยความสะดวก (2) มิติด้านสถาบัน ในภาพรวมและรายด้านผ่านเกณฑ์การประเมิน ได้แก่ ผู้เรียน ผู้สอน ผู้บริหาร ครอบครัว และชุมชน และ (3) มิติด้านพฤติกรรมการเรียนรู้ในภาพรวมและรายด้านผ่านเกณฑ์การประเมิน ได้แก่ ด้านพุทธิพิสัย ด้านเจตพิสัย และด้านทักษะพิสัยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการประเมินหลักสูตร--คณิตศาสตร์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การวัดและประเมินผลการศึกษาth_TH
dc.titleการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา โรงเรียนสุเหร่าลาดพร้าว กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeAn evaluation of school-based curriculum of Mathematics in primary level at Suraoladprow School in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to evaluate the school-based curriculum in the Mathematics Learning Area at Prathom Suksa IV - VI level of Surao Latphrao School in Bangkok Metropolis in the dimension of instructional management; (2) to evaluate the school-based curriculum in the Mathematics Learning Area at Prathom Suksa IV - VI level in the dimension of institution; and (3) to evaluate the school-based curriculum in the Mathematics Learning Area at Prathom Suksa IV - VI level in the dimension of learning behavior. The research informants consisted of one school administrator, one head of academic work section, two teachers, 61 Prathom Suksa IV – VI students, 61 parents of Prathom Suksa IV – VI students, and 15 school board members of Surao Lat Phrao School in Bangkok Metropolis. The employed research instruments were a questionnaire on school-based curriculum in the dimensions of instructional management, institution, and learning behavior; an interview form; and a note taking form. Data were analyzed with the use of the percentage, mean, standard deviation, and content analysis. Research findings showed that (1) both the overall and specific aspects of the instructional management dimension passed the evaluation criteria; the specific aspects were the classroom arrangement, course contents, methods, and facilities; (2) both the overall and specific aspects of the institution dimension passed the evaluation criteria; the specific aspects were the learners, teachers, administrators, family, and community; and (3) both the overall and specific aspects of the learning behavior dimension passed the evaluation criteria; the specific aspects were the cognitive domain, affective domain, and psycho-motor domain.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_162799.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons