Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8871
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเจษฎา สกุลเขียว-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-15T07:43:37Z-
dc.date.available2023-08-15T07:43:37Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8871-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการดำเนินงานการฝึกอบรมของข้าราชการ สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร (2) เปรียบเทียบการดำเนินงานการฝึกอบรม ของข้าราชการ สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานครโดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการของสำนัก ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร ข้าราชการทั้งหมด จำนวน 1700 คนโดยใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 324 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิอย่างเป็นสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ ความแตกต่างโดยการทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) ความคิดเห็นของข้าราชการสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานครต่อการดำเนินการการฝึกอบรมของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร ในภาพรวม ทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการฝึกอบรมแบบมีส่วนร่วม ด้านการฝึกอบรมเพื่อพัฒนากระบวนการคิด ด้านการฝึกอบรมอย่างมี ความสุข ด้านการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาสุนทรียภาพและลักษณะนิสัย (การฝึกฝนกาย วาจา ใจ) อยู่ในระดับ มาก ส่วนด้านการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาสุนทรียภาพและลักษณะนิสัย (ศิลปะ ดนตรี กีฬา) อยู่ในระดับ ปานกลาง (2) ข้าราชการสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร ที่มี อายุ ระยะเวลาใน การปฏิบัติงาน ระดับการศึกษา ระดับตำแหน่ง ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการฝึกอบรมของสำนักป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร ไม่แตกต่างกัน โดยมีข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งนี้ 2 ด้าน คือ ด้านวิทยากรให้นำเทคนิคที่หลากหลายมาใช้เพื่อสร้างอารมณ์ขัน และมีการตั้งคำถามเพื่อกระตุ้นผู้เข้ารับ การฝึกอบรมได้ฝึกคิดมากขึ้น ด้านการปรับปรุงหลักสูตรโดยปรับให้ผู้รับการฝึกอบรมได้แลกเปลี่ยน ความรู้นำ ศิลปะ ดนตรี กีฬา การฝึกฝนวาจา มาประยุกต์ใช้ในการฝึกอบรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร--ข้าราชการ--การฝึกอบรมth_TH
dc.subjectการบรรเทาสาธารณภัยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการฝึกอบรมของข้าราชการสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeTraining of officer of Department of Disaster Prevention and Mitigation, Bangkok Metropolitanth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: (1) study the opinion on training provided to the officers of Disaster Prevention and Mitigation, Bangkok Metropolitan; (2) compare the officers' opinions on the training received at Disaster Prevention and Mitigation, Bangkok Metropolitan classified by personal factors. This study was a survey research. Population consisted of 1,700 officers of Disaster Prevention and Mitigation, Bangkok Metropolitan, from which samples of 324 were obtained. Proportional stratification sampling method was applied. Questionnaire was used as instrument. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, t-Test and One-way ANOVA. The results of this study revealed that: (1) the overall opinions of the officers at Disaster Prevention and Mitigation, Bangkok Metropolitan toward the training provided to them was at the high level in 5 parts, when considered each part, it was found that: training participation, art of training to develop thinking process, happiness training and coaching aesthetics and characteristics (body, speech and mind) parts were at high level, while opinions on traing of coaching aesthetics and characteristics (art, music, sport) was at medium level; and (2) no differences were found among opinions of the officers with different ages, working period and education levels, major suggestions were in 2 aspects : on lecturer aspect: variety of techniques should be employed to create sense of humor atmosphere, appropriate questions should be asked to encourage the trainees to practice their thinking; on course improvement : trainees should have more opportunities to share their knowledge, art and music appreciation should be added in the course, together with sports and public speakingen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140224.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons