Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8873
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สารีพันธุ์ ศุภวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | หทัยทิพย์ ฆังมณี, 2534- ผู้แต่ง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-15T07:50:11Z | - |
dc.date.available | 2023-08-15T07:50:11Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8873 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินงานของห้องสมุดประชาชนในจังหวัดยะลา 2) เสนอแนะแนวทางการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนในจังหวัดยะลาให้เป็นห้องสมุดมีชีวิต ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพและปัญหาการดำเนินงานของห้องสมุดประชาชนในจังหวัดยะลาอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่อยู่ในด้านการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย 2) เสนอแนะแนวทางการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนในจังหวัดยะลาให้เป็นห้องสมุดมีชีวิต ประกอบด้วย 6 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม ควรมีการปรับปรุง ซ่อมแซมอย่างสม่ำเสมอ เพื่อความสวยงามเหมาะสมตามยุคสมัย (2) ด้านการบริหารจัดการห้องสมุด ควรมีการวางแผนงานในแต่ละงบประมาณอย่างเป็นระบบ (3) ด้านการบริการภายในห้องสมุด ควรมีการจัดมุมการเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ (4) ด้านสื่อและกิจกรรม ควรมีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายเหมาะสมกับทุกเพศทุกวัย (5) ด้านบุคลากร จัดให้มีการประชุมบรรณารักษ์สัญจร เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานของห้องสมุดในแต่ละพื้นที่ (6) ด้านการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย ควรมีการติดต่อประสานงานหรือการจัดประชุมร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายอย่างสม่ำเสมอ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ห้องสมุด--บริการสารสนเทศ | th_TH |
dc.subject | ห้องสมุด--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การศึกษานอกระบบ | th_TH |
dc.title | แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานห้องสมุดมีชีวิตในจังหวัดยะลา | th_TH |
dc.title.alternative | Guidelines for the development of lively library operations in Yala Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were 1) to study the condition and problems of the operation of the public library in Yala Province. 2) to propose guidelines for the operation of the public library in Yala Province to be a lively library. The research sample consisted of 1) The Office of the Non-Formal and Informal Education Promotion, Yala Province 2 ) Administrators of the Non-Formal and Informal Education Center District 3) Staff and teachers under the Center for Non-Formal and Informal Education Districts, 4) librarians / library staff, and 5) 565 members of the Public Library in Yala Province.The instrument used in the research was a questionnaire about the condition and problems of the operation of the public library in Yala Province. Data were analyzed using the percentage, mean, standard deviation and content analysis. The results of the research that 1) The environment and operation problems of the public libraries in Yala Province were at a moderate level, most of them had participation Communities and network associates. 2) To propose guidelines for the operation of the public library in Yala Province to be a lively library consisted of six elements: (1) building and environment should be improved Repair regularly For beauty appropriate for the era. (2) library management there should be a systematic planning of each budget. (3) services in the library there should be various forms of learning corners. (4)media and activities There should be a variety of activities suitable for all ages. (5) personnel arrange a meeting for librarians to travel, in order to exchange knowledge of the operations of libraries in each area. (6) participation Communities and network associates there should be regular communication and coordination with the community and network associates. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT_164448.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License