Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8874
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพฤกษา ดอกกุหลาบ, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-15T07:52:00Z-
dc.date.available2023-08-15T07:52:00Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8874-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุด การเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนทาง อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านลาดวิทยา จังหวัดเพชรบุรี ที่กำลังศึกษาในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 39 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่ม แบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 3 หน่วย ได้แก่ หน่วยที่ 9 การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในชุมชน หน่วยที่ 10 โรคไม่ ติดต่อที่เป็นปัญหาสุขภาพของคนไทย และ หน่วยที่ 11 การวางแผนพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของ นักเรียนที่มีต่อชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพและการ ป้องกันโรค ทั้ง 3 หน่วย มีประสิทธิภาพ 80.08/80.22, 80.14/80.44 และ 80.17/80.89 ตามลำดับ เป็นไป ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ มีความก้าวหน้า ทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนทาง อิเล็กทรอนิกส์ มีความคิดเห็นว่าชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.179en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสุขศึกษา -- การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectพลศึกษา -- การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านลาดวิทยา จังหวัดเพชรบุรีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of an electronic learning package in the health and physical education learning area on the topic of health enhancement and diseases prevention for Mathayom Suksa IV students at Ban Lat Wittaya School in Phetchaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop an electronic learning package in the Health and Physical Education Learning Area on the topic of Health Enhancement and Diseases Prevention for Mathayom Suksa IV students based on the set efficiency criterion; (2) to study the learning progress of the students learning from the electronic learning package; and (3) to study the opinions of the students toward the electronic learning package. The research sample consisted of 39 Mathayom Suksa IV students studying in the first semester of the 2015 academic year at Ban Lat Wittaya School in Phetchaburi province, obtained by cluster sampling. The employed research instruments comprised (1) an electronic learning package in the Health and Physical Education Learning Area on the topic of Health Enhancement and Diseases Prevention for Mathayom Suksa IV students comprising three units, namely, Unit 9: Community Health Enhancement and Diseases Prevention; Unit 10: Non-Communicable Diseases That Are Health Problems for Thai People; and Unit 11: Health Development Planning for Individual and Family; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and posttesting; and (3) a questionnaire on the student’s opinions toward the electronic learning package. Statistics used for data analysis were the E1/E2 efficiency index, t-test, mean, and standard deviation. Research findings showed that (1) the three units of the developed electronic learning package were efficient at 8 0 .0 8 /8 0 .2 2 , 8 0 .1 4 /8 0 .4 4 and 8 0 .1 7 /8 0 .8 9 , respectively, thus meeting the set 80/80 efficiency criterion; (2) students learning from the electronic learning package achieved significant learning progress at the .05 level; and (3) the students learning from the electronic learning package had opinions that the electronic learning package was appropriate at the highest levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
147979.pdfเอกสารฉบับเต็ม38.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons