Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8876
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพักตร์ พิบูลย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิเชียร ธรรมาธร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกาญจนา ค้ายาดี, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-15T08:14:44Z-
dc.date.available2023-08-15T08:14:44Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8876-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนามาตรฐานการประเมินการปฏิบัติงานของข้าราชการทหาร สังกัดกองทัพอากาศ และ (2) ประเมินประสิทธิภาพของมาตรฐานการประเมินการปฏิบัติงานของข้าราชการทหาร สังกัดกองทัพอากาศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นข้าราชการทหาร สังกัดกองทัพอากาศ จำนวน 1,179 คน จําแนกเป็นผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนามาตรฐาน 744 คน และผู้มีส่วนร่วมในการตรวจสอบมาตรฐาน 435 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวิเคราะห์เอกสาร แบบสอบถามเพื่อการพัฒนามาตรฐานการประเมินการปฏิบัติงาน และแบบประเมินการปฏิบัติงานของข้าราชการทหาร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) มาตรฐานการประเมินการปฏิบัติงานของข้าราชการทหารสังกัดกองทัพอากาศ ประกอบด้วย 23 มาตรฐาน 145 ตัวบ่งชี้ ครอบคลุมองค์ประกอบหลัก 2 ด้าน ได้แก่ ด้านผลงานมี 4 มาตรฐาน 8 ตัวบ่งชี้ และด้านสมรรถนะในการปฏิบัติงานมี 19 มาตรฐาน 137 ตัวบ่งชี้ และ (2) ผลการประเมินประสิทธิภาพของมาตรฐานการประเมินการปฏิบัติงาน พบว่า ผู้เกี่ยวข้องมากกว่าร้อยละ 80 เห็นว่า มาตรฐานการประเมินมีความเหมาะสมในระดับมาก และเมื่อตรวจสอบความตรงตามโครงสร้างของมาตรฐานและตัวบ่งชี้ พบว่า มีความตรงตามโครงสร้างกล่าวคือ สามารถจำแนกความแตกต่างระหว่างกลุ่มข้าราชการทหารที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด่นกับกลุ่มข้าราชการทหารทั่วไปได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectทหารอากาศ--การทำงาน--การประเมินth_TH
dc.subjectมาตรฐานการทำงานth_TH
dc.titleการพัฒนามาตรฐานการประเมินการปฏิบัติงานของข้าราชการทหาร สังกัดกองทัพอากาศth_TH
dc.title.alternativeThe development of performance appraisal standards for military officers in the Royal Thai Air Forceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOIhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.316en_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to: (1) develop performance appraisal standards for military officers in the Royal Thai Air Force; and (2) evaluate the efficiency of the developed performance appraisal standards for military officers in the Royal Thai Air Force. The sample consisted of 1,179 military officers in the Royal Thai Air Force classified into 744 participants in standards development and 435 participants in standards verification. The employed research instruments were a document analysis form, a questionnaire for development of performance appraisal standards, and a performance appraisal form. The employed statistics for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, coefficient of variation, and t-test. Research finding showed that (1) the developed performance appraisal standards for military officers in the Royal Thai Air Force comprised 23 standards and 145 indicators covering two main components, namely, the performance outcomes with 4 standards and 8 indicators, and the performance competencies with 19 standards and 137 indicators; and (2) results of efficiency evaluation of the developed performance appraisal standards indicated that more than 80 percent of concerned people had opinions that the performance appraisal standards were appropriate at the high level; and when the construct validity of the performance appraisal standards were verified, it was found that the performance appraisal standards had construct validity as they could discriminate the group of military officers with outstanding work performance from that of common military officers significantly at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons