Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8877
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุไร นาคสง่า, 2520- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-15T08:16:43Z-
dc.date.available2023-08-15T08:16:43Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8877en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ด้านสังคมของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือ และ 2) เปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ด้านสังคมของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือและของนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้กิจกรรมแนะแนวปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านในเมือง อำเภอละงู จังหวัดสตูล ที่มีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์ด้านสังคมตั้งแต่ระดับปานกลางลงมา และสมัครใจเข้าร่วมการทดลองจำนวน 40 คน จากนั้นสุ่มอย่างง่ายเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ด้านสังคมที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ด้านสังคม และ (3) กิจกรรมแนะแนวปกติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือมีความฉลาดทางอารมณ์ด้านสังคมสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือมีความฉลาดทางอารมณ์ด้านสังคมภายหลังการทดลองสูงกว่าของนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้กิจกรรมแนะแนวปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์th_TH
dc.subjectการแนะแนว--เครื่องมือth_TH
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ด้านสังคมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านในเมือง จังหวัดสตูลth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package based on cooperative learning concept to develop social aspect of emotional literacy of Prathom Suksa IV-VI students at Ban Nai Mueang School in Satun Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare the levels of social aspect of emotional literacy of the experimental group students before and after using a guidance activities package based on cooperative learning concept; and (2) to compare the level of social aspect of emotional literacy of the experimental group students who used the guidance activities package with that of the control group students who undertook normal guidance activities. The research sample consisted of 40 Prathom Suksa IV–VI students of Ban Nai Mueang School, La-ngu district, Satun province during the 2020 academic year, whose scores on the social aspect of emotional literacy were at the moderate to lower levels and who were willing to participate in the experiment. After that, they were randomly assigned into the experimental and control groups, each of which consisting of 20 students. The employed research instruments were (1) a scale to assess the social aspect of emotional literacy, with reliability coefficient of .92; (2) a guidance activities package based on cooperative learning concept to develop social aspect of emotional literacy; and (3) a set of normal guidance activities. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research results revealed that (1) after the experiment, the postexperiment social aspect level of emotional literacy of the experimental group students, who used the guidance activities package based on cooperative learning concept, was significantly higher than their pre-experiment counterpart level at the .05 level of statistical significance; and (2) the post-experiment social aspect level of emotional literacy of the experimental group students, who used the guidance activities package based on cooperative learning concept, was significantly higher than the postexperiment counterpart level of the control group students who undertook normal guidance activities at the .05 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_166499.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons