Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8890
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเบญจา ศิริผล, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T03:17:42Z-
dc.date.available2023-08-16T03:17:42Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8890en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณลักษณะของงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการคงอยู่ในองค์การ(2) ศึกษาปัจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคงอยู่ในองค์การของพนักงานในธุรกิจ (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยดัชนีมาตรฐานของปัจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคงอยู่ในองค์กร ของพนักงานในธุรกิจ และ (4) อธิบายความแปรปรวนของค่าเฉลี่ยดัชมาตรฐานของปัจจัยเชิงเหตุของการคงอยู่ในองค์การด้วยคุณลักษณะของงานวิจัยประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ งานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาที่ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อการคงอยู่ในองค์การของพนักงานเอกชนในธุรกิจเขตภาคกลางและภากตะวันออก จำนวนทั้งสิ้น 74 เรื่องและเลือกจำนวนประชากรตามวิธีของเครจซี่และมอร์แกน ดำเนินการวิเกราะห์ด้วยวิธีของ Glass และณะ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ รู้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทคสอบค่าเอฟ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิคราะห์ดดถอยพหุคูณ และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันผลการศึกษาพบว่า (1) คุณลักษณะของงานวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านลักษณะของงานวิจัย พบว่า แหล่งผลิตงานวิจัยวิทยานิพนธ์ที่นำมาสังเคราะห์มากที่สุดคือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นนักวิจัยเพศหญิง ที่อยู่ในช่วงปีการศึกษา 2558-2559 2) ด้านเนื้อหาสาระงานวิจัย พบว่า เป็นการศึกษาเพื่อหาความสัมพันธ์ของปัจจัยมากที่สุด รองลงมาคือ การศึกษาอิทธิพลของปัจจัย แนวคิด/ทฤษฎี ที่อ้างอิงมากที่สุดคือแนวคิดความผูกพันองค์การและทฤยฎีสองปัจัยของฮิร์กบิร์ก ตัวแปรอิสระเป็นการศึกษาปัจจัยด้านผลตอบแทนมากที่สุด และอภิปรายผลโดยการอ้างอิงผลการวิจัย 3) ด้านวิธีวิทยาการวิจัย พบว่า วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ใช้มากที่สุดคือ การเลือกแบบหลายขั้นตอน และใช้แบบสอบถามร้อยละ 100 โดยมีการตรวจสอบความตรงของเครื่องมือส่วนใหญ่เป็นเฉพาะอาจารย์ที่ปรึกษาเพียงท่านเดียวและค่าคุณภาพเครื่องมือที่มากกว่า 0.90 คิดเป็นร้อยละ 47.62 จากการให้คะแนนคุณภาพงานวิจัยพบว่า มีเพียง 42 เล่ม ที่มีค่าคะแนนคุณภาพงานวิจัยเกินร้อยละ 60 (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคงอยู่ในองค์การของพนักงานในธุรกิจ มีค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์อยู่ในช่วงระหว่าง 0.31-0.70ประกอบด้วย กรรับรู้พฤดิกรรมองค์การ ความผูกพันองค์การดอกาสและความคาดหวัง นโยบายการบริหารองค์การความพึงพอใจในงาน ความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพของตน ปัจจัยส่วนบุคคล วัฒนธรรมองค์การและภาวะผู้นำ ตามลำดับ(3) ความแตกต่างของก่าเฉลี่ยดัชนีมาตรฐานของปัจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคงอยู่ในองค์กรของพนักงานในธุรกิจที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ตัวแปรปีการศึกษา ทฤษฎี/แนวคิด ขนาดกลุ่มตัวอย่าง วิธีหาค่าความเที่ยงวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างประเภทตัวแปรตาม วิธีหาค่าความตรง สถิติทดสอบ และคุณภาพงานวิจัย และ(4) ปัจจัยที่มีผลต่อความแปรปรวนของค่ดัชนีมาตรฐานคือ การรับรู้พฤติกรรมองค์การสามารถทำนายค่ดัชนีมาตรฐานของปัจจัยเชิงเหตุของการคงอยู่องค์การของพนักงานในธุรกิจได้ ร้อยละ 14.3th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์อภิมานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการวิเคราะห์อภิมานปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคงอยู่ในองค์การของพนักงานเอกชนในธุรกิจเขตภาคกลางและภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeMeta-analysis of factors relating retention of business employees in Central and East Regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this meta-analysis study were to: (1) study research characteristics of causal factors of retention of employees; (2) identify factors that related to retention of employees in business organizations; (3) compare mean of correlation coefficients across factors and research characteristics and (4) analyze predictors of correlation coefficients by research characteristics variables. The study population was graduate research that studied the relationship of factors affecting organizational retention totally 74 researches in the central and eastern business area as period of 2007 -2016. Population was selected by Kesey Morgan Method and analyzed by Glass et al concept. Statistical analysis employed included t-test, F-test, one-way ANOVA, and multiple regression analysis. Research results showed that: (1) the research characteristics consisted of three aspects. For research nature, it was found that research source came from Thammasart University the most. Most of samples had undertaken by female researchers. For research content, it was found that there were research studying relationship of the factors the most and followed by those of the influence of factors respectively. The most theory references was the concept of organizational commitment and Two-factor theory of Hertzberg. The independent variables were the study of the mostly about rewarding factors and the results were discussed by reference to their own results. For the research methodology, it was found that the method of selecting samples mostly used was Multi-step selection with questionnaire as the total of 100 %. Most of the tool inspector was only their advisor, and the quality of the instrument was higher than 0.90 as of 47.62%. The quality of the research was found 42 researches which was over than 60%. (2) For factors related to the retention of employees in the organizations, the correlation coefficients were 0.31-0.70, including Perceived Organizational Behavior, Organizational Commitment, Opportunities and Expectations, Organization Management Policy, Job Satisfaction, Confidence in their performance, Personal factors, Organizational Culture, and Leadership respectively. (3) This study found that Academic Year, Theory/Concept, Sample Size, Reliability Solution, Sample Selection, Kind of Variable, Statistics test, and Research Quality were related and had covariance with the standard indices of factors related to the retention of employees in the business were statistically significant at the 0.05 level. (4) The factors that affected the variance of the standard index were: Perceived Organizational Behavior can predict the standardized index of causal factors of employee retention in business organizations as 14.30%.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fullttext_158400.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons