Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8895
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพ่อค้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประเสริฐศักดิ์ บุญศรี, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T04:03:30Z-
dc.date.available2023-08-16T04:03:30Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8895en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องบทบาทพนักงานสอบสวนในกระบวนการยุติธรรมเชิง สมานฉันท์:ศึกษากรณีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความเป็นมาและสภาพปัญหา ที่เกี่ยวกับบทบาทของพนักงานสอบสวนต่อการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทคดีอาญาตามหลัก กระบวนการ ยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในชั้นสอบสวน (2) เพื่อศึกษา แนวคิด ทฤษฎี หลักเกณฑ์กระบวนการยุติธรรมเชิง สมานฉันท์ และลักษณะความผิดทางอาญาที่สามารถนำเข้าสู่กระบวนการการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตาม หลักกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (3) เพื่อศึกษาและค้นหาแนวทางมาใช้เป็นข้อเสนอแนะบทบาท ของพนักงานสอบสวนในการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทคดีอาญาในชั้นสอบสวน การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Reserch) ประเภทการวิจัยเอกสาร (Documentary Reserch) โดยวิธีการรวบรวมเอกสารจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ได้แก่ หนังสือ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความทางวิชาการ ตัวบทกฎหมาย สี่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับบทบาทการไกล่ ข้อพิพาทของพนักงานสอบสวนในกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ จากผลการศึกษาพบว่าพนักงาน สอบสวนมีบทบาทสำคัญ เนื่องจากสามารถยุติข้อพิพาททางอาญาในชั้นสอบสวน โดยไม่ต้องนำคดีขึ้นสู่ ศาล โดยมีผลดีมากกว่าผลเสีย คือ ลดการนำคดีขึ้นสู่ศาล ประหยัดเวลา และงบประมาณภาครัฐ ซึ่งสมควร นำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้ในกระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของพนักงานสอบสวน ทำ ให้เหยื่อได้รับโอกาสในการเยียวยาโดยเร็วและหากสามารถตกลงกันได้ในชั้นสอบสวน และผู้กระทำ ได้รับการฟินฟูโดยเร็ว อีกทั้งเป็นผลดีต่อตัวผู้กระทำผิดที่ไม่ต้องมีประวัติการต้องหาคดีอาญาติดตัว ทำให้ ทุกฝ่ายต่างได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน ผลการศึกษาผู้ศึกษาได้ศึกษาหลักการและวิธีการนำหลักการกระบวนการยุติธรรมเชิง สมานฉันท์มาใช้ในการระงับข้อพิพาทในคดีอาญาในชั้นพนักงานสอบสวนโดยไม่ให้เกิดความซํ้าซ้อนกับ หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมยื่น และผู้ศึกษาได้เสนอให้มีการออกกฎหมายรองรับอำนาจพนักงาน สอบสวนในการดำเนินการระงับข้อพิพาททางอาญาในชั้นพนักงานสอบสวนได้ เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของการดำเนินการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการไกล่เกลี่ยth_TH
dc.subjectพนักงานสอบสวนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์th_TH
dc.titleบทบาทพนักงานสอบสวนในกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ : ศึกษากรณีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทth_TH
dc.title.alternativeThe official role in the reconciliation process : a study case of mediationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis Independent Study Title “Official role in the reconciliation process. : A study case of mediation has purpose (1) to study the history and the problems related to the role of conciliation officers to promote harmony in the criminal justice system under investigation(2) to study the theories of justice, reconciliation rules. and the criminal case can be brought into the process of mediation under the reconciliation process(3) to study and find solutions to a recommendation of the officer's role in enforcing the law on mediation in the criminal of investigation. In this study, using qualitative research (Qualitative Research) of research papers (Documentary Research) by method of the collection documents from various sources, including books, research, thesis papers, laws printed electronic devices which about the role of the officer in the remote to reconciliation process. This is a quantitative research by using legal documents, law codes, regulations, academic paper, articles, legal researches, and other documents relate to a topic. Results of the study was to study the principles of justice Restorative justice principles and methods used to settle disputes in a criminal case in the inquiry without any overlap with other agencies in the justice system. The study was presented to the competent authority in support of legislative action in a dispute resolution officer's criminal. For the purposes of conducting a fair reconciliation.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_135430.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons