Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8900
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสารีพันธุ์ ศุภวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนำวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวันชนก อาจปรุ, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T06:14:57Z-
dc.date.available2023-08-16T06:14:57Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8900-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารเพื่อชีวิต สำหรับผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ (2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนจากชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารเพื่อชีวิต และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ที่มีต่อชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่องสารเพื่อชีวิต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี จำนวน 31 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย คือ (1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารเพื่อชีวิต สำหรับผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และ(3) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนการศึกษานอกระบบต่อการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารเพื่อชีวิต สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารเพื่อชีวิตที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 คือ 80.77/81.29 ฃ (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบ เรื่องสารเพื่อชีวิต หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ความพึงพอใจของผู้เรียนการศึกษานอกระบบที่มีต่อชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์มีค่าอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.192en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.titleการพัฒนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เรื่องสารเพื่อชีวิตสำหรับผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในจังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a science activity package on substances for life for non-formal lower secondary education learners in Pathum Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop a science activity package on the topic of Substances for Life for non-formal lower secondary education learners to meet the efficiency criterion of 80/80; (2) to study the learners’ learning achievements before and after using the science activity package; and (3) to study the learners’ satisfaction with the science activity package on the topic of Substances for Life. The sample of this research consisted of 31 Non-formal lower secondary education learners of Thanya Buri Non-Formal and Informal Education Center, Pathum Thani province during the first semester of the 2014 academic year, obtained by simple random sampling. The employed research instruments were (1) a science activity package on the topic of Substances for Life for non-formal lower secondary education learners, (2) a learning achievement test for pre-testing and post-testing, and (3) a questionnaire on student’s satisfaction with the science activity package. Statistics used for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings were that (1) the science activity package on the topic of Substances for Life for non-formal lower secondary education learners was efficient at 80.77/81.29, thus meeting the 80/80 efficiency criterion; (2) the students’ post-learning achievement on the topic of Substances for Life was higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level of significance; and (3) the students’ rating mean for satisfaction with the science activity package was at the highest levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148012.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons