Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8906
Title: | การปฏิบัติที่เป็นเลิศของบริษัท อีสเทิร์น ซีบอร์ด เอนไวรอนเมนทอล คอมเพล็กซ์ จำกัด |
Other Titles: | Best practices at Eastern Seaboard Environmental Complex Co., Ltd. |
Authors: | ธนชัย ยมจินดา นภัสกร รุ่งสว่าง, 2517- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ |
Keywords: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี บริษัทอีสเทิร์นซีบอร์ดเอนไวรอนเมนทอลคอมเพล็กซ์--การบริหาร |
Issue Date: | 2552 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับของปัจจัยสร้างความเป็นเลิศโดยรวมของ บริษัท (2) เพื่อศึกษาระดับของความเป็นเลิศในแต่ละปัจจัยสร้างความเป็นเลิศของบริษัท (3) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของลักษณะส่วนบุคคลที่มีต่อปัจจัยสร้างความเป็นเลิศขององค์การกลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานประจำทุกระดับในบริษัทที่ปฏิบัติงานอยู่ ณ บริษัท อีสเทิร์น ซีบอร์ด เอนไวรอนเมนทอล คอมเพล็กซ์ จำกัด จำนวน 109 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ กรทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีLeast Significance Difference (LSD) ด้านลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 67.89 มีอายุ 30 - 40 ปี คิดเป็นร้อยละ 47. 7 1 มีรายได้ระหว่าง 10,000 - 25,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 77.06 การศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 64.22 อายุงานในตำแหน่งต่ำกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 33.03 เป็นพนักงานระดับปฏิบัติการและพนักงานอื่น ๆในจำนวนที่เท่ากันคือ คิดเป็นร้อยละ 35.78 และเป็นพนักงานประจำ คิดเป็นร้อยละ 91.74 (1) ค้านระดับปัจจัยสร้างความเป็นเลิศขององค์การในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X =3.5 1) (2) เมื่อพิจารณาองค์ประกอบรายค้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก 6 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง 3 ด้าน โดยด้านผลกระทบต่อสังคมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( X =3.94) รองลงมาคือด้านผลสัมฤทธิ์ขององค์การ อยู่ในระดับมาก ( X =3.68) และน้อยที่สุดมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน คือด้านความพึงพอใจของพนักงาน และด้านความพึงพอใจของลูกค้า ผู้รับบริการ อยู่ในระดับปานกลาง ( X =3.22) (3)การเปรียบเทียบความคิดเห็นของลักยณะส่วนบุคคลที่มีต่อปัจจัยสร้างความเป็นเลิศขององค์การ พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุงานในตำแหน่งและตำแหน่งหน้าที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อปัจจัยสร้างความเป็นเลิศขององค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8906 |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_129420.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.72 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License