Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8911
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนันทาริกา ไชยหงษา, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T07:01:49Z-
dc.date.available2023-08-16T07:01:49Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8911en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท พ.ศ.ช. ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด (2) เปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท พ.ศ.ช. ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด (3) เสนอแนะแนวทางเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท พ.ศ.ช. ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด ให้เพิ่มสูงขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ พนักงานของบริษัท พ.ศ.ช. ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด จำนวน 100 คน จากพนักงานทั้งสิ้น 134 คน ซึ่งคำนวณหาขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย และส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับการทดสอบสมมติฐานจะใช้สถิติได้แก่ การทคสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธี Least Significance Difference (LSD) ผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า (1) ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท พ.ศ.ช. ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด อยู่ในระดับปานกลาง (2) การทคสอบสมมติฐาน พบว่า พนักงานที่มีระดับการศึกษาอัตราเงินเดือน หน้าที่ปัจจุบันที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท พ.ศ.ช. ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อทำการเปรียบเทียบแบบรายคู่ ด้วยวิธี L.SD พบว่า คู่ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ กลุ่มที่มีอัตราเงินเดือนต่ำกว่า 5,000 บาท กับกลุ่มที่มีอัตราเงินเดือน 10,001 บาทขึ้นไป (10,00 1-20,000 บาท/20,001บาท ขึ้นไป)และกลุ่มที่มีอัตราเงินเดือน5,000- 10,000 บาท กับกลุ่มที่มีอัตราเงินเดือน10.,001 บาทขึ้นไป (10,001-20,000 บาท/20,001 บาทขึ้นไป) โดยกลุ่มที่มีอัตราเงินเดือน10,001 บาทขึ้นไป มีความคิดเห็นต่อปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ (3) มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจ เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานให้สูงขึ้น ได้แก่ ด้านนโยบายขององค์กร ด้านการบริหารงานของผู้บังคับบัญชา ด้านสภาพแวดล้อม สัมพันธภาพและบรรยากาศในการทำงาน ด้านค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ด้านค่าตอบแทนที่ ไม่เป็นตัวเงิน ด้านการตรวจยาเสพติด และด้านการตรวจสุขภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัท พ.ศ.ช. ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด--พนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท พ.ศ.ช. ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัดth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting work motivation of employees of P.S.CH. Foodproduct Co.,Ltd.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_129850.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons