Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8924
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินาฏ ลีดส์th_TH
dc.contributor.authorประดิษฐ์ ติ๊บมา, 2514-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T07:43:32Z-
dc.date.available2023-08-16T07:43:32Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8924en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง การส่งผู้กระทำผิดฐานกระทำชำเราเด็กอายุไม่เกินสิบห้าปีไปตรวจจิต มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการคุ้มครองเด็ก และการลงโทษผู้กระทำผิด 2) เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการส่งผู้กระทำผิดฐานกระทำชำเรา เด็กอายุไม่เกินสิบห้าปีไปตรวจจิตตามกฎหมายไทยและกฎหมายของต่างประเทศ 3) วิเคราะห์ เปรียบเทียบกฎหมายไทยและกฎหมายของต่างประเทศเกี่ยวกับการส่งผู้กระทำผิดฐานกระทำชำเรา เด็กอายุไม่เกินสิบห้าปีไปตรวจจิต 4) เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมาย เกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญาฐาน กระทำชำเราเด็กอายุไม่เกินสิบห้าปี การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quality Research) โดยการวิจัย เอกสาร (Documentary Research) ด้วยการศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ด้วยการศึกษาจากหนังสือ ตำรา วารสารทางวิชาการ ตัวบทกฎหมาย คำพิพากษาของศาล วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย ข้อมูลทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet) ผลการศึกษาพบว่าประเทศไทย ยังไม่มีแนวทางการส่งตัวผู้กระทำความผิดไปตรวจจิตอย่างเป็นระบบ จะมีการส่งตัวผู้กระทำผิดไปตรวจจิต ในกรณีที่ผู้กระทำความผิดที่มีอาการวิกลจริตอย่างชัดเจนโดยการแสดงออก และมีการร้องขอต่อผู้เกี่ยวข้องให้ส่งไปตรวจ ส่วนผู้กระทำความผิดทางเพศที่ไม่มีการแสดงอาการทางจิตชัดเจน จะไม่ได้รับการส่งตรวจทางจิต ผลจากการศึกษาดังกล่าวจะนำไปสู่การแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญาฐานกระทำชำเราเด็กอายุไม่เกินสิบห้าปีโดยมีการส่งผู้กระทำผิดไปตรวจจิตอย่างมีระบบและมีมาตรฐานต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความผิดทางอาญาth_TH
dc.subjectความผิดในคดีเด็กและเยาวชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการส่งผู้กระทำผิดฐานกระทำชำเราเด็กอายุไม่เกินสิบห้าปีไปตรวจจิตth_TH
dc.title.alternativeSending offenders of sexual abuse on children aged not over fifteen years for mental examinationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of independent study entitled “Sending Offenders of Sexual Abuse on Children Aged not Over Fifteen Years for Mental Examination” were: 1) to study concepts and theories of child protection and punishment of offenders; 2) to study the legislative measures about sending offenders of sexual abuse on children aged not over fifteen years for mental examination under Thai laws and foreign laws; 3) to analyze and compare between Thai laws and foreign laws concerning sending offenders of sexual abuse on children aged not over fifteen years for mental examination; 4) o find an appropriate approach to amend provisions of laws relating to the criminal proceedings of an offense of sexual abuse on children aged not over fifteen years. This independent study is a qualitative research with documentary research and gathering information from aticles, studying textbooks, academic journals, legal provisions, court sentences, theses, research reports, electronic data and information from internet. The result of study found that, in Thailand, there is not an appropriate measure to send the offenders for mental examination. Sending the offenders for mental examination has been made only the case that the offenders had psychotic symptoms expressed clearly and there is a petition to concerning persons to send them for mental examination. But those who had no psychotic symptoms expressed clearly would not be sent for the mental examination. The result of this study will lead to amendment of provisions of laws relating to the criminal proceedings of an offense of sexual abuse on children aged not over fifteen years by sending the offenders for mental examination systematically.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_144669.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons