Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8925
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจันตรี คุปตะวาทิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนันทรัตน์ มีล้วน, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T07:57:37Z-
dc.date.available2023-08-16T07:57:37Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8925-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการอ่านและ การเขียนสะกดคำภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1และ (2) ตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคาภาษาไทยที่พัฒนาขึ้นนั้น กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2555 ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 จำนวน 623 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคาภาษาไทย ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าคุณภาพของแบบทดสอบ ได้แก่ ความตรง ความเที่ยง ความยาก และอำนาจจาแนก ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) แบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำภาษาไทย ประกอบด้วยการอ่านและการเขียนสะกดคาที่มีอักษรควบกล้า รร (ร หัน) อักษรนำ ประวิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์ ตัวการันต์ ตัวสะกดตรงและไม่ตรงตามมาตรา คำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียง และผันวรรณยุกต์อักษรกลาง สูง ต่ำ และ (2) แบบทดสอบวินิจฉัย มีคุณภาพด้านความตรงเชิงเนื้อหา ค่าความยากระหว่าง 0.51- 0.79 ค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.29-0.86 ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.88 ซึ่งมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.239en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาษาไทย -- การอ่าน -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectภาษาไทย -- การเขียน -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.titleการพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of diagnostic test reading and spelling skills in Thai language for Prathom Suksa III students in Prachuap Khiri Khan Primary Education Service Area 1th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to construct a diagnostic test of reading and spelling skills in Thai language for Prathom Suksa III students in Prachuap Khiri Khan Primary Educational Service Area 1; and (2) to verify quality of the developed diagnostic test. The research sample consisted of 623 Prathom Suksa III students in Prachuap Khiri Khan Primary Educational Service Area 1. The instrument employed in this research was a Thai reading and spelling skills diagnostic test. Research data were analyzed to determine quality of the test and test items in the forms of validity index, reliability coefficient, difficulty index and discriminating index. The research findings were as follows: (1) the Thai reading and spelling skills diagnostic test was composed of items on reading and spelling of words with combined consonants, words with “double Rau” as vowel , words with initial consonant, words with and without “A” vowel, words with non-pronounced consonants, words with ending consonant and non-consonant variation ,words with silent sounds of Thai alphabets and vowels, and variation of pronouncing the tone marks from three consonant groups; and (2) the Thai reading and spelling skills diagnostic test was found to have content validity, with the difficulty indices ranging from 0.51-0.79, the discriminating indices ranging from 0.29-0.86, and the reliability coefficient of 0.88. Thus, the developed diagnostic test had quality indices meeting the expected criteriaen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148313.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons