Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8935
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสาริณี สกุลสุข, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-17T02:09:07Z-
dc.date.available2023-08-17T02:09:07Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8935-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสุขของผู้ป่วยโรคเบาหวานหลังผ่าตัดขาของกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการให้การปรึกษาแบบรายบุคคล และ 2) เปรียบเทียบความสุขของผู้ป่วยโรคเบาหวานหลังผ่าตัดขาของกลุ่มทดลองที่ได้รับการปรึกษาแบบรายบุคคลกับกลุ่มควบคุมที่ได้รับการให้การปรึกษาแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานที่ถูกตัดขา มีอายุระหว่าง 35-60 ปี ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง จากนั้นสุ่มอย่างง่ายเพื่อแบ่งเป็น กลุ่มควบคุมและ กลุ่มทดลอง กลุ่มละ 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทำวิจัย ได้แก่ โปรแกรมการให้การปรึกษารายบุคคล การให้การปรึกษาแบบปกติ และแบบวัดความสุขของผู้ป่วยโรคเบาหวานหลังผ่าตัดขา ที่มีค่า ความเที่ยงเท่ากับ .81 กลุ่มทดลองได้รับการปรึกษาแบบรายบุคคลจนครบ ทั้ง 8 คน คนละ 8 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที รวมทั้งหมด 64 ครั้ง กลุ่มควบคุมได้รับการปรึกษาแบบปกติ สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่ามัธยฐาน ค่าเบี่ยงเบนควอไทล์ การทดสอบแมนวิทนีย์และการทดสอบวิลคอกซัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ป่วยโรคเบาหวานหลังผ่าตัดขามีความสุขเพิ่มขึ้นภายหลังการให้การปรึกษาแบบรายบุคคล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และ 2) ผู้ป่วยโรคเบาหวานหลังผ่าตัดขากลุ่มทดลองมีความสุขเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุมหลังการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.137en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเบาหวาน -- ผู้ป่วย -- การให้คำปรึกษาth_TH
dc.titleผลของการให้การปรึกษาแบบรายบุคคลเพื่อเสริมสร้างความสุขของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ถูกตัดขาในโรงพยาบาลนครพนม จังหวัดนครพนมth_TH
dc.title.alternativeEffect of individual counseling to enhance happiness of diabetic patients after leg amputation in Nakhonpanom Hospital, Nakhonpanom Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed 1) to compare the happiness of diabetic patients who had leg amputation before and after receiving individual counseling, and 2) to compare the happiness of diabetic patients after having leg amputation of the experimental group who received individual counseling with the control group who received traditional counseling. The samples were 16 diabetic patients who had amputation surgery of their legs, aging between 35-60 years old. They were obtained from perposive selection. Then, simple sampling was done to divide them into 2 groups, an experimental group and a control group, 8 patients in each group. Research instruments were the individual counseling program, the traditional counseling and the measurement of the happiness of diabetic patients after leg amputation surgery with a reliability of .81. The experimental group received 8 sessions of the individual counseling, 50 minutes in each session with a total of 64 sessions. The control group received the traditional counseling. The statistics were median, quartile deviation, the Mann-Whitney U Test and the Wilcoxon Matched Pairs Signed Ranks Test. The results showed that 1) after receiving the individual counseling, the diabetic patients with leg amputation had happiness higher than before with statistically significance at the level of 0.5, and 2) the diabetic patients in the experimental group had happiness higher than of the control group with statistically significance at the 0.5 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
149675.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons