Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/893
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธิดา โมสิกรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสาวิตร พงศ์วัชร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอนุกูล โรจนสุขสมบูรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิตติกร วิบูลย์ศรี, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T03:03:49Z-
dc.date.available2022-08-23T03:03:49Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/893-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิวัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา รูปแบบ องค์ประกอบของศิลปะการแสดงลิเกป่าในแถบชายฝั่งทะเลตะวันตก กรณีศึกษาจังหวัดกระบี่ 2) เพื่อศึกษาขนบนิยม สภาพลังคมและวัฒนธรรมศิลปะการแสดงลิเกป่าในแถบชายฝั่งทะเลตะวันตก กรณีศึกษาจังหวัดกระบี่ โดยศึกษาข้อมูลศิลปะการแสดงลิเกป่าจากคณะรวมมิตรบันเทิงศิลป๋ เป็น การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาเอกสารหลักฐานต่าง ๆ และการสัมภาษณ์ ซ็งเกี่ยวข้องกับ ศิลปะการแสดงลิเกป่า ซึ่งมีทั้งผู้รู้และผู้มีประสบการณ์ในการแสดงลิเกป่า ผลการวิจัยพบว่า (1) ศิลปะการแสดงลิเกป่าในแถบชายฝั่งทะเลตะวันตก มีขั้นตอน ประกอบด้วย พิธีกรรมก่อนแสดง การออกแขก และการแสดงของแขกแดง (2) เนื้อหาของการขับ ร้องสะท้อนถึงความเชื่อไสยศาสตร์ที่ดัดแปลงมาจากคติสอนใจในศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลามและ การแต่งกายของผู้แสดงลิเกป่า ตามแบบชาวไทยมุสลิมพื้นบ้าน ปัจจุบันการแสดงศิลปะการแสดงลิเกป่าเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสังคม และเศรษฐกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทำให้ผู้ชมไม่นิยมดูลิเกป่าอย่างเช่นในอดีต ดังนั้นจึง ควรมีการศึกษาและการบันทึก ไวัเป็นหลักฐานสืบไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectลิเกth_TH
dc.subjectศิลปะการแสดง--ไทย--กระบี่--กรณีศึกษาth_TH
dc.titleศิลปะการแสดงลิเกป่าในแถบชายฝั่งทะเลตะวันตก : กรณีศึกษาจังหวัดกระบี่th_TH
dc.title.alternativeThe wild theatrical performance (Likae pa) on the West Coast of Thailand : a case study of Krabi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์-
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) study performance art formats, their history.component pats of the theatrical performance likay pah on the west coast of Thailand, and to (2) study the customs and socio-cultural contexts of the performance art of Likay Pa on the West Coast. This study involved a case study of one troupe in Karbi. This qualitative research employed two approaches to collect data - document studies and in-depth interviews with experts. The informants were experts who were knowledgeable and experienced Likay Pa performers. Results from the study showed that there were three major formats - the rituals before the show, the “awk kheak” prelude in which an actor dressed in Malay costume takes the stage to pay homage to the troupe's teachers, and the “khaek daeng” performance. Likay Pa’s plots reflect the integration of the supernatural and religious beliefs of both Buddhists and Islam. Likay Pa performers wear Thai southern Muslim style costumes. At present, the performance art of Likay Pa is being affected by socioeconomic changes. Likay Pa is not as popular as it was in the past. Thus, this performance art should be studied and documented for future referenceen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (2).pdfเอกสารฉบับเต็ม4.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons