Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8955
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจันตรี คุปตะวาทิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุธาสินี เพชรแย้ม, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-18T05:51:46Z-
dc.date.available2023-08-18T05:51:46Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8955-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแบบวัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพแบบวัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2558 ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 จำนวน 495 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความตรง ค่าความเที่ยง ค่าความยาก และค่าอำนาจจำแนก ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) แบบวัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน มีจำนวน 65 ข้อ แบ่งเป็น 3 ตอน ตอนที่ 1 การอ่านจับใจความสำคัญ การเข้าใจและสรุปความ เป็นคำถามแบบเลือกตอบ จำนวน 32 ข้อ ตอนที่ 2 การคิดวิเคราะห์เนื้อหา ความสัมพันธ์และหลักการ เป็นคำถามแบบเลือกตอบ จำนวน 30 ข้อ ตอนที่ 3 การเขียนเพื่อเล่าเรื่องและเขียนตามจินตนาการ เป็นแบบเขียนตอบ จำนวน 3 ข้อ และ (2) แบบวัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน มีคุณภาพด้านความตรงเชิงเนื้อหา ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.84 ค่าความยากระหว่าง 0.27-0.78 ค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.22-0.72 ซึ่งมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.126en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความคิดอย่างมีวิจารณญาณth_TH
dc.subjectแบบทดสอบ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectการเขียน -- การทดสอบความสามารถth_TH
dc.subjectการอ่าน -- การทดสอบความสามารถth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบวัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a test on reading, analysis thinking and writing abilities for Prathom Suksa III Students in Ratchaburi Primary Education Service Area 2th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop a test on reading, analysisthinking and writing abilities for Prathom Suksa III students in Ratchaburi Primary Education Service Area 2; and (2) to verify quality of the test on reading, analysisthinking and writing abilities for Prathom Suksa III Students in Ratchaburi Primary Education Service Area 2. The research sample consisted of 495 Prathom Suksa III students in Ratchaburi Primary Education Service Area 2 in the academic year 2015. Theinstrument employed in this research was a test on reading, analysis thinking and writing abilities. Statistics for data analysis were the validity index, reliabilitycoefficient, difficulty index and discriminating index. The research findings were as follows: ( 1) the test on reading, analysis thinking and writing abilities was composed of three parts: Part 1 was a test on reading for main idea, comprehension and conclusion; it contained 32 multiple- choice test items; Part 2 was a test on analysis of contents, relationship and principles; it contained 30 multiple-choice test items; and Part 3 was a test on narrative writing and imaginative writing; it was an essay type test with three test items; and ( 2) the test on reading, analysis thinking and writing abilities had quality as shown by its content validity, its reliability coefficient of 0. 84, its difficulty indices ranging from 0. 27 - 0. 78, and its discriminating indices ranging from 0. 22 - 0. 72. Thus, the test on reading, analysis thinking and writing abilities had quality indices meeting the pre-determined criteriaen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151572.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons