Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8982
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลชลี จงเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรัตนา ดวงแก้ว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพิน จันทร์ธิมาน, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-21T06:30:00Z-
dc.date.available2023-08-21T06:30:00Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8982-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด (2) ศึกษาพฤติกรรม การจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมกับพฤติกรรมการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด จำนวน 295 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซีและมอร์แกน จากนั้นใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมกับพฤติกรรมการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียน เป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า (1) พฤติกรรมภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด โดยรวมปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (2) พฤติกรรมการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด โดยรวมปฏิบัติอยู่ในระดับมาก และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมกับพฤติกรรมการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด พบว่า พฤติกรรมภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารโรงเรียน มีความสัมพันธ์กับวิธีการจัดการความขัดแย้งแบบผสมผสาน อยู่ในระดับสูง นอกจากนี้ยังพบว่าพฤติกรรมภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารโรงเรียน มีความสัมพันธ์กับวิธีการจัดการความขัดแย้งแบบยอมตาม แบบประนีประนอม อยู่ในระดับปานกลาง และพฤติกรรมภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารโรงเรียน มีความสัมพันธ์กับวิธีการจัดการความขัดแย้งแบบหลีกเลี่ยง แบบเอาชนะ อยู่ในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.226en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน -- ไทย -- ตราดth_TH
dc.subjectการบริหารความขัดแย้งth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.subjectผู้นำกับศีลธรรมจรรยาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมกับพฤติกรรมการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราดth_TH
dc.title.alternativeRelationship between ethical leadership behaviors and conflict management behaviors of School Administrators Under Trat Primary Education Service Area Officesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study ethical leadership behaviors of school administrators under Trat Primary Education Service Area Offices; (2) to study conflict management behaviors of school administrators under Trat Primary Education Service Area Offices; and (3) to study the relationship between ethical leadership behaviors and conflict management behaviors of school administrators under Trat Primary Education Service Area Offices. The research sample consisted of 295 teachers under Trat Primary Education Service Area Offices. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table; after that, the research sample was obtained with multi-stage sampling. The employed research instrument was a rating scale questionnaire on ethical leadership behaviors and conflict management behaviors of school administrators. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s product-moment correlation coefficient. Research findings revealed that (1) ethical leadership behaviors of school administrators under Trat Primary Education Service Area Offices were rated at the high level; (2) conflict management behaviors of school administrators under Trat Primary Education Service Area Offices were rated at the high level; and (3) regarding the relationship between ethical leadership behaviors and conflict management behaviors of school administrators under Trat Primary Education Service Area Offices, it was found that ethical leadership behaviors of school administrators had high correlation with their mixed-method conflict management behavior; furthermore, their ethical leadership behaviors had moderate correlations with their obliging and compromising conflict management behaviors, and had low correlations with their avoiding and dominating conflict management behaviors; also, all correlations were significant at the .01 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153206.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons