Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9009
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นลินี ณ นคร | th_TH |
dc.contributor.author | ปราณี พรมพันธ์, 2502- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-22T06:41:48Z | - |
dc.date.available | 2023-08-22T06:41:48Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9009 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการใช้การประเมินเพื่อการเรียนรู้ของ ครูคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (2) ประเมินผลการใช้การประเมินเพื่อการเรียนรู้ของครูคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ (3) ศึกษาแนวทางการส่งเสริมการใช้การประเมินเพื่อ การเรียนรู้ของครูคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 กลุ่มตัวอย่างคือ ครูคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 157 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 785 คน ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 3 ปีการศึกษา 2557 โดยเลือกมาด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามการใช้การประเมินเพื่อการเรียนรู้ของครูคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) การใช้การประเมินเพื่อการเรียนรู้ของครูคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ในภาพรวมมีการใช้อยู่ในระดับน้อย (2) ผลการใช้การประเมินเพื่อการเรียนรู้ของครูคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิผล คือ สามารถทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) แนวทางการส่งเสริมการใช้การประเมินเพื่อการเรียนรู้ คือ ควรพัฒนาความรู้และศักยภาพการใช้การประเมินเพื่อการเรียนรู้ของครู | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.135 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา-- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ครูคณิตศาสตร์--ภาระงาน | th_TH |
dc.subject | การประเมินผลงาน | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้ | th_TH |
dc.title | การประเมินการใช้และประสิทธิผลของการประเมินเพื่อการเรียนรู้ของครูคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 | th_TH |
dc.title.alternative | Assessment of utilization and effectiveness of assessment for learning practices by Prathom Suksa VI Mathematics teachers in Chiang Mai Primary Education Service Area 3. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research were to (1) Studies using of Assessment for Learning Practices by Prathom Suksa VI Mathematics Teachers, (2) Evaluation results after using of Assessment for Learning Practices by Prathom Suksa VI Mathematics Teachers, and (3) Study the way to promote using Assessment for Learning Practices by Prathom Suksa VI Mathematics Teachers in Chiang Mai Primary Education Service Area 3. The information data sampling were used in this study, 157 mathematic teachers and 785 students were collected by Stratified random sampling in schools to be subordinate to Chiang Mai Primary Education Service Area 3, 2014 were representative. The specific data instrument used questionnaire were related with using assessment for learning in mathematic teachers and mathematic achievement tests for students in Prathom Suksa VI which data were analyzed by frequency, percentage, standard deviation and multiple regression analysis. The results of this research revealed that (1) in the schools under Chiang Mai Primary Education Service Area 3, Prathom Suksa VI Mathematics Teachers mostly use of assessment for learning in less level. (2) using assessment for learning in Prathom Suksa VI Mathematics Teachers has capability to predict efficacy for learning mathematic achievement were consistent at the .05 level of significant statistically. And (3) this overviews has result to guideline teacher was supported to promote and improve using of assessment for learning for education program or applied in teaching in schools. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สังวรณ์ งัดกระโทก | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
154701.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License