Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/900
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุดจิต เจนนพกาญจน์th_TH
dc.contributor.authorสุวัฒน์ เรืองศิลป์, 2510-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T03:27:12Z-
dc.date.available2022-08-23T03:27:12Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/900en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาประวัติ และพัฒนาการของการทำนาตาลโตนด และการประกอบอาชีพตั้งแต่อดีต- ปัจจุบัน (2) ศึกษาภูมิปัญญาชาวบัานในการทำน้ำตาลโตนด (3) ศึกษาปัญหาอุปสรรคในการทำน้ำตาลโตนด และการประกอบอาชีพ (4) ศึกษาแนวโน้มอาชีพการทำน้ำตาลโตนด วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คึอ ผู้รู้และผู้นำในหมู่บ้าน 5 คน เจ้าหน้าที่การเกษตร 2 คน เกษตรกรตาลโตนด 2 คน ผู้ประกอบอาชีพทำน้ำตาลโตนด 5 คน รวมทั้งสิ้น 14 คน โดยใช้วิธีการดำเนินวิจัยจากการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการสังเกต แล้วอธิบายผลการวิจัยในลักษณะพรรณนาวิเคราะห์ผลการวิจัยพบว่า (1) ต้นตาลโตนด มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ทางตอนใต้ของทวิปเอเชีย มีพัฒนาการในการทำน้ำตาลโตนด แบ่งเป็น 4 สมัย ได้แก่ สมัยสุโขทัยมีการทำตาลโตนดแล้วแต่ไม่ได้แพร่หลาย สมัยอยุธยานั้าตาลทรายแดงจากอ้อยเริ่มเข้ามาเป็นสินค้าสำคัญสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีการผลิตน้ำตาลจากอ้อยและเติบโตอย่างรวดเร็วมีการส่งเป็นสินค้าไปจำหน่ายไปยังต่างประเทศและสมัยปัจจุบันหรือรัชกาลที่ 9 น้ำตาลทรายแพร่หลายจนกระทั้งน้ำตาลโตนดเสื่อมความนิยมลง ส่วนในบ้านแหลมวังมีการทำนั้าตาลโตนดทั้งแต่เมื่อใดนั้นไม่มีหลักฐานปรากฏ (2) ภูมิปัญญาในการทำน้ำตาลโตนด เป็นภูมิปัญญาชาวบ้านที่ทำกันมาช้านานประกอบด้วยภูมิปัญญาการเลือกต้นตาล และพาดตาล ภูมิปัญญาการคาบตาล ภูมิปัญญาการแช่งวงตาล และการปาดตาลภูมิปัญญาในการรองน้ำตาล ภูมิปัญญาการทำเตาเคี่ยวตาล ภูมิปัญญาการเคี่ยวน้ำตาล และภูมิปัญญาที่เป็นผลพลอยได้จากต้นตาลโตนดและการทำน้ำตาลโตนดวิธีการอนุรักษ์ภาครัฐควรให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการสืบทอดเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนอย่างต่อเนื่อง มีการกำหนดนโยบายในแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ที่เป็นรูปธรรม ตลอดจนสนับสนุนผลิตภัณท์และสรรหาบุคคลทางด้านภูมิปัญญา (3) ปัญหาและอุปสรรคในการทำน้ำตาลโตนดของบ้านแหลมวังมีปัญหาต่าง ๆ ที่สำคัญคือ ปัญหาการแพร่หลายของน้ำตาลทรายที่เข้ามามีบทบาท ประกอบกับปัญหาการทำน้ำตาลโตนดไม่ได้ตลอดทั้งปื เนื่องจากการทำน้ำตาลโตนดตรงกับฤดูกาลทำนาและที่สำคัญปัญหาการไม่สามารถรวมกลุ่มประกอบอาชีพการทำน้ำตาลโตนด (4) แนวโน้มในการประกอบอาชีพการทำน้ำตาลโตนดในอนาคต จะลดน้อยลงหรืออาจเลิกประกอบอาชีพนี้ไป เนึ่องจากขาดการส่งเสริมจากภาครัฐและความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ทำให้เกิดโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่ ตลอดจนคนรุ่นใหม่ไม่ได้นิยมประกอบอาชีพการทำน้ำตาลโตนด เพราะคิดว่ามีความเสี่ยงและเป็นอันตรายจากการปีนต้นตาลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.209en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภูมิปัญญาชาวบ้าน--ไทยth_TH
dc.subjectตาลโตนดth_TH
dc.titleการอนุรักษ์ภูมิปัญญาชาวบ้านในการทำน้ำตาลโตนด : กรณีศึกษาบ้านแหลมวัง จังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeConservation of the local wisdom about palm sugar production : a case study of Bab Laem-Wang in Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.209-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study the history, development of palm sugar production, and past-to-present occupation; (2) to study local wisdom about palm sugar production; (3) to study the problems and obstacles for palm sugar production and occupations, and (4) to study palm sugar production occupation trends. This study was a qualitative study. The population size was 14, including 5 sub-district leaders, 2 agricultural officers, 2 agricultural people in palm sugar production, and 5 palm sugar production entrepreneurs. Document analysis, indepth interview, and observation techniques were used as tools in this study. The result was shown in descriptive analysis. The result of this study could be explained in 4 aspects; (1) Plamyra palm originated in the South of Asia. The development of palm sugar production can be classified into 4 periods: Sukhothai-palm sugar production, which was documented but still not well distributed, Ayutthaya-brown sugar from sugar cane became the important product, early Ratanakosin sugar from sugar cane was rapidly produced and distributed to foreign countries, present (the reign of Rama IX)-sugar from sugar cane was widely used and the use of sugar from palm sugar decreased. It was not recorded when was a palm sugar production appeared at Ban Laem-wang (2) the wisdom in palm sugar production is a long time local wisdom including the wisdom about choosing and climbing sugar palm trees, pressing the blossom part of palm sugar trees, soaking and slicing the blossom part, bearing the palm sugar, making the stove, making concentrated palm sugar, palm sugar production and palm sugar production by-products. The community should be accepted to participate in the government conservative policy in terms of knowledge providing to people, complying practice to policy for The National Economic and Social Development Plan, product support, and finding the wisdom people, (3) palm sugar production problems and obstacles at Ban Laem-wang were for examples: the granulated sugar was as admized as palm sugar and people could not do a palm sugar production until the timing so it was the same time of rice farming. Then, it couldn’t organized to do this job. (4) palm sugar production occupation will decrease or cease because of the lack of support from the government and economic growth bringing about industrialization. Moreover, the palm sugar production occupation is not popular in the new generation because of the risk and danger from climbing palm sugar trees.en_US
dc.contributor.coadvisorจิตรา วีรบุรีนนท์th_TH
dc.contributor.coadvisorประชิด วามานนท์th_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (3).pdfเอกสารฉบับเต็ม13.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons