Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9024
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพัทธ์ชรัญญา หาญเชิงชัยเตชิน, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T07:56:17Z-
dc.date.available2023-08-22T07:56:17Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9024en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความคาดหวังและระดับการรับรู้ของนัก ท่องเที่ยวสะพายเป้ชาวต่างประเทศต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดของ มีใช พาราไดส์ เกสท์เฮาส์ นครหลวง เวียงจันทน์ และ (2) ความแตกต่างของระดับความคาดหวังและการรับรู้ของนักท่องเที่ยวสะพายเป้ชาว ต่างประเทศต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดของ มีใช พาราไดส์เกสท์เฮาส์ นครหลวงเวียงจันทน์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นนักท่องเที่ยวสะพายเป้ ชาวต่างประเทศที่เข้าใช้บริการใน “มีใช พาราไดส์ เกสท์เฮาส์” จำนวนรวม 6,992 คน ในช่วงเวลาเดือน มกราคม-มีนาคม 2554 ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจำนวน 400 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบ เจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการเปรยบเทียบค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม ที่มีความสัมพันธ์กัน ผลการศึกษาพบว่า (1) นักท่องเที่ยวสะพายเป้ชาวต่างประเทศมีระดับความคาดหวังต่อปัจจัย ส่วนประสมการตลาดของ มีใช พาราไดส์ เกสห์เฮาส์ นครหลวงเวียงจันทน์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาแต่ละปัจจัยพบว่าความคาดหวังด้านราคาที่ควรสมเหตุสมอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้าน ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับห้องพักและสี่งอำนวยความสะดวกภายในห้อง และด้านพนักงานที่มีจิตบริการ ตามลำดับ ส่วนระดับการรับรู้ของนักท่องเที่ยวสะพายเป้ชาวต่างประเทศเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมการตลาดต่อการให้ บริการของมีใชพาราไดส์เกสฑ์เฮาส์นครหลวงเวียงจันทน์พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาแต่ละ ปัจจัยพบว่า นักท่องเที่ยวสะพายเป้มีระดับการรับรู้ด้านพนักงานให้บริการมากที่สุด และรองลงมาคือ ด้าน ผลิตภัณฑ์ และด้านกระบวนการ ตามลำดับ และ (2) การวิเคราะห์ความแตกต่างของระดับความคาดหวังและ การรับรู้ของนักท่องเที่ยวสะพายเป้ชาวต่างประเทศต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาด พบว่า นักท่องเที่ยวสะพายเป้ ชาวต่างประเทศมีระดับความคาดหวังและการรับรู้ต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยพบว่า มีการรับรู้ต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาด ทั้งโดยรวมและทุกด้าน สูงกว่าระดับความคาดหวังth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบึงกาฬ--การบริหารth_TH
dc.titleศักยภาพขององค์การตามแนวทางองค์การแห่งการเรียนรู้ : กรณีศึกษา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบึงกาฬth_TH
dc.title.alternativeThe organizational potential based on learning organization approach : a case study of Bungkan Provincial Health officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were (1) to study personal factors and the level of opinions toward the actual practice on the organizational potential based on learning organization approach of the officials at Bungkan Provincial Health Office; and (2) to study the relationship between personal factors and the level of opinions toward the actual practice on the organizational potential based on earning organization approach of the officials at Bungkan Provincial Health Office. The sample of this study was 86 officials at Bungkan Provincial Health Office in Muang District, Bungkan Province. A constructed questionnaire was used as a tool to collect data. The collecting data tool was a constructed questionnaire with reliability of 0.95. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and Chi-square. The results showed that (1) most of the samples, about 69.77 percent, were females with age less than 30; bachelor’s degree; working experience less than 6 years and holding the officer position. The level of opinion toward the organizational potential learning based on organization approach was overall at a high level. As for each aspect, the learning dynamic and technological usage were at a high level, while empowerment and competency development, knowledge management, and organizational adjustment were at a moderate level; and (2) personal factors: gender, age, educational background and working position were related to the level of opinions toward actual practice on the organizational potential based on learning organization approach.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_141025.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons